[ สุขใจ ดอท คอม บ้านหลังเล็กอันแสนอบอุ่น ] ธรรมะ พุทธประวัติ ฟังธรรม ดูหนัง ฟังเพลง เกมส์ เบาสมอง ดูดวง สุขภาพ สารพันความรู้
23 พฤศจิกายน 2567 19:27:01 *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
  หน้าแรก   เวบบอร์ด   ช่วยเหลือ ห้องเกม ปฏิทิน Tags เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก ห้องสนทนา  
บุคคลทั่วไป, คุณถูกห้ามตั้งกระทู้หรือส่งข้อความส่วนตัวในฟอรั่มนี้
Fuck Advertise !!

หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: หลักของสุญญตา โดย อ.สเถียร โพธินันธะ  (อ่าน 2110 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
มดเอ๊ก
สุขใจ คนพิเศษ
นักโพสท์ระดับ 14
*

คะแนนความดี: +8/-1
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 5162


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 16.0.912.77 Chrome 16.0.912.77


ดูรายละเอียด
« เมื่อ: 26 ธันวาคม 2555 23:00:36 »



สุญญตา โดย อ. สเถียร โพธินันธะ

ปาฐกถาธรรม 07 สุญญตา



หลักของสุญญตา โดย อ.สเถียร โพธินันธะ

ปาฐกถาธรรม 08 หลักของสุญญตา


Share this topic on AskShare this topic on DiggShare this topic on FacebookShare this topic on GoogleShare this topic on LiveShare this topic on RedditShare this topic on TwitterShare this topic on YahooShare this topic on Google buzz

บันทึกการเข้า

ทิ นัง มิไฮ นัง มิจะนัง ทิกุนัง แปลว่า
ที่นั่ง มีให้นั่ง มึงจะนั่ง ที่กูนั่ง ทิ้งไว้เป็น
ปริศนาธรรม นะตะเอง
มดเอ๊ก
สุขใจ คนพิเศษ
นักโพสท์ระดับ 14
*

คะแนนความดี: +8/-1
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 5162


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 16.0.912.77 Chrome 16.0.912.77


ดูรายละเอียด
« ตอบ #1 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2555 23:02:52 »



ฟัง+donwload โดยคลิกได้ที่

http://www.ybat.org/media/satien/dhamma_talk_satien.html


สารบัญ
๑. ปฐมเหตุของโลก
     
   
   
   
  ๒. กำเนิดโลก กำเนิดชีวิต
         
   
   
  ๓.สุนทรียถาพในพระพุทธศาสนา
         
   
   
  ๔. พุทธวิธีในการปฏิรูป       
   
   
  ๕. อาการจิต     
   
   
  ๖. ขันธวาที       
   
   
  ๗.สุญญตา       
   
   
  ๘.หลักของสุญญตา       
   
   
  ๙.ปกติวาที - สมยวาที       
   
   
 ๑๐.ปรปัจจัย       
   
   
 ๑๑.ปฏิจจสมุปบาท ๑       
   
   
 ๑๒.ปฏิจจสมุปบาท ๒         
   
   
 ๑๓.ปฏิจจสมุปบาท ๓         
   
   
 ๑๔.ปฏิจจสมุปบาท ๔         
   
   
 ๑๕.ตรรกวิทยา       
   
   
 ๑๖.เหตุการณ์ก่อนพุทธปรินิพพาน     
   
   
 ๑๗.เหตุการณ์หลังพุทธปรินิพพาน     
   
   
 ๑๘.ทุติยสีงคายนา ๑     
   
   
 ๑๙.ทุติยสีงคายนา ๒     
   
   
 ๒๐.ประวัติพุทธศาสนา   
   
   
 ๒๑.งานพระธรรมฑูต ๑     
   
   
 ๒๒.งานพระธรรมฑูต ๒   
   
   
 ๒๓.พุทธศาสนาในอินเดีย ๑   
   
   
 ๒๔.พุทธศาสนาในอินเดีย ๒   
   
   
 ๒๕.พุทธศาสนาในอิหร่าน-อินเดีย ๑   
   
   
 ๒๖.พุทธศาสนาในอิหร่าน-อินเดีย ๒   
   
   
 ๒๗.ลัทธิลังกาวงศ์ในสุวรรณภูมิ ๑   
   
   
 ๒๘.ลัทธิลังกาวงศ์ในสุวรรณภูมิ ๒   
   
   
 ๒๙.พุทธศาสนาในสุวรรณภูมิ   
   
   
๓๐.ศาสนาสมัยอยุธยารัตนโกสินทร์   
   
   
๓๑.พุทธศาสนาในธิเบต   
   
   
๓๒.พุทธศาสนาในประเทศจีน ๑   
   
   
๓๓.พุทธศาสนาในประเทศจีน ๒   
   
   
๓๔.พุทธศิลป์ในประเทศจีน   
   
   
๓๕.พระถังซำจั๋ง ๑   
   
   
๓๖.พระถังซำจั๋ง ๒   
   
   
๓๗.พุทธศาสนาในญี่ปุ่น   
   
   
๓๘.นิกายมหายาน ๑   
   
   
๓๙.นิกายมหายาน ๒   
   
   
๔๐.พระไตรปิฎกมหายาน   
   
   
๔๑.อภิธรรมมหายาน   
   
   
๔๒.คัมภีร์กถาวัตถุ ๑   
   
   
๔๓.คัมภีร์กถาวัตถุ ๒   
   
   
๔๔.วิจัยคัมภีร์กถาวัตถุ ๑   
   
   
๔๕.วิจัยคัมภีร์กถาวัตถุ ๒   
   
   
๔๖.วิจัยคัมภีร์กถาวัตถุ ๓   
   
   
๔๗.วิจัยคัมภีร์กถาวัตถุ ๔   
   
   
๔๘.วิจัยเวสสันดรชาดก   
   
   
๔๙.ตอบปัญหาเรื่องพระเจ้า   
   
   
๕๐.สารพัดปัญหา ๑   
   
   
๕๑.สารพัดปัญหา ๒   
   
   
๕๒.สารพัดปัญหา ๓   
   
   
๕๓.สารพัดปัญหา ๔   
   
   
๕๔.สารพัดปัญหา ๕   
   
   
๕๕.สารพัดปัญหา ๖   
   
   
๕๖.สารพัดปัญหา ๗   
   
   
๕๗.สารพัดปัญหา ๘   
   
   
๕๘.สารพัดปัญหา ๙   
   
   
๕๙.สารพัดปัญหา ๑๐   
   
   
๖๐.สารพัดปัญหา ๑๑   
   
   

ประวัติ วิทยากร
เสถียร โพธินันทะ

อาจารย์เสถียร โพธินันทะ ผู้ได้รับการยกย่องว่าเป็นปราชญ์ทางพระพุทธศาสนาคนหนึ่งของไทย ผู้บุกเบิกการศึกษาพระพุทธศาสนามหายาน และอดีตเลขาธิการคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย

เกิดที่ กรุงเทพมหานคร เมื่อวันจันทร์ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2472 ที่บ้านในตรอกอิศรานุภาพ บริเวณตลาดเก่าเยาวราช ใกล้ ๆ กับวัดกันมาตุยาราม บิดาเป็นชาวจีนชื่อนายตั้งเป็งท้ง มารดาชื่อ นางมาลัย กมลมาลย์ มีพี่สาวสองคน ตามประวัติกล่าวว่าเมื่อมารดาตั้งครรภ์อาจารย์เสถียร บิดาก็มีเหตุจำเป็นต้องเดินทางกลับไปประเทศจีนและได้ถึงแก่กรรมในเวลาต่อมา ในวัยเด็ก เด็กชายเสถียรใช้นามสกุลว่า “กมลมาลย์” ตามมารดา จนกระทั่ง พ.ศ. 2491 เมื่อมีอายุได้ 20 ปี จึงได้เปลี่ยนนามสกุลตนเองเป็น “โพธินันทะ” อันหมายถึงผู้ยินดีในความรู้แจ้ง ด้วยประสงค์จะให้ใกล้ชิดกับพระศาสนาและได้ใช้นามสกุลนี้ตลอดมาจนถึงแก่กรรม
ก่อตั้งยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย

เมื่ออาจารย์เสถียร โพธินันทะมีอายุราว 17 ปี ท่านสุชีโว ภิกขุ หรืออาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ ได้เชิญให้อาจารย์เสถียร โพธินันทะซึ่งเป็นศิษย์ในวัดกันมาตุยารามไปบรรยายธรรมะให้พุทธศาสนิกชนฟัง ที่ตึกมหามกุฏราชวิทยาลัย หน้าวัดบวรนิเวศวิหาร (ปัจจุบันใช้เป็นสำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง) อาจารย์เสถียรไปถึงที่บรรยายทั้งๆ ที่ใส่ชุดนักเรียน โดยที่ท่านสุชีโว ภิกขุได้ตามไปเป็นพี่เลี้ยงให้ด้วย การบรรยายในวันนั้น สร้างความประทับใจแก่ผู้ฟังเป็นอย่างมาก ที่เห็นวัยรุ่นอายุยังไม่ครบ 20 ปีสามารถบรรยายธรรมได้อย่างแตกฉาน ทำให้เกิดกระแสความต้องการของประชาชนที่จะก่อตั้งเป็นกลุ่มเยาวชนพุทธขึ้นมา เพื่อสร้างศาสนทายาทในฝ่ายฆราวาสขึ้น ผู้เป็นตัวตั้งตัวตีอีกคนในยุคนั้น คือ นายบุญยง ว่องวาณิช นายห้างอังกฤษตรางู ซึ่งสมัยนั้น ติดตามฟังปาฐกถาของสุชีโว ภิกขุและอาจารย์เสถียร โพธินันทะเป็นประจำ

ต่อมา สุชีโว ภิกขุก็นำเรื่องนี้ไปปรึกษาพระพรหมมุนี (ผิน สุวโจ) วัดบวรนิเวศวิหาร เมื่ออาจารย์เสถียร โพธินันทะอายุได้ 20 ปีเพื่อขอจดทะเบียนเป็นสมาคม พระพรหมมุนี จึงตั้งชื่อให้ว่ายุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย ตั้งแต่บัดนั้น อาจารย์เสถียร ก็ทำหน้าที่ระดมชาวพุทธวัยหนุ่มสาวให้มาทำงานเพื่อพระพุทธศาสนาร่วมกัน ผลการก่อตั้งยุวพุทธิกสมาคม ปรากฏว่ามีนักศึกษามหาวิทยาลัย พ่อค้า ข้าราชการ ที่มีความเห็นตรงกันจำนวนมากสนใจในพระพุทธศาสนา ต่อมา ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่งเป็นองค์กรทางศาสนาที่มีบทบาทสำคัญและมีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วประเทศ และมีชื่อเสียงไปถึงระดับนานาชาติ ภายใต้นายกสมาคมคนใหม่ กล่าวคือ อนุรุทธ ว่องวาณิช ซึ่งเป็นบุตรชายของบุญยง ว่องวาณิชมาจนทุกวันนี้
บันทึกการเข้า

ทิ นัง มิไฮ นัง มิจะนัง ทิกุนัง แปลว่า
ที่นั่ง มีให้นั่ง มึงจะนั่ง ที่กูนั่ง ทิ้งไว้เป็น
ปริศนาธรรม นะตะเอง
คำค้น:
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  


คุณ ไม่สามารถ ตั้งกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์ได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความได้
BBCode เปิดใช้งาน
Smilies เปิดใช้งาน
[img] เปิดใช้งาน
HTML เปิดใช้งาน

Powered by MySQL Powered by PHP
Bookmark and Share

www.SookJai.com Created By Mckaforce | Sookjai.com Sitemap | CopyRight All Rights Reserved
Mckaforce Group | Sookjai Group
Best viewed with IE 7.0 , Chrome , Opera , Firefox 3.5
Compatible All OS , Resolution 1024 x 768 Or Higher
Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.452 วินาที กับ 32 คำสั่ง

Google visited last this page 18 พฤศจิกายน 2567 13:46:05