[ สุขใจ ดอท คอม บ้านหลังเล็กอันแสนอบอุ่น ] ธรรมะ พุทธประวัติ ฟังธรรม ดูหนัง ฟังเพลง เกมส์ เบาสมอง ดูดวง สุขภาพ สารพันความรู้
22 ธันวาคม 2567 20:02:31 *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
  หน้าแรก   เวบบอร์ด   ช่วยเหลือ ห้องเกม ปฏิทิน Tags เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก ห้องสนทนา  
บุคคลทั่วไป, คุณถูกห้ามตั้งกระทู้หรือส่งข้อความส่วนตัวในฟอรั่มนี้
Fuck Advertise !!

หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: กิจของจิตโดยย่อ  (อ่าน 3473 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
เงาฝัน
สุขใจ คนพิเศษ
นักโพสท์ระดับ 15
*

คะแนนความดี: +58/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: หญิง
Thailand Thailand

กระทู้: 7493


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Firefox 2.0.0.20 Firefox 2.0.0.20


ดูรายละเอียด
« เมื่อ: 31 ธันวาคม 2553 13:47:25 »


    กิจของจิตโดยย่อ

     1.ปฏิสนธิกิจ (เกิด)
     2.ภวังคกิจ (ดำรงภพชาติ)
     3. อาวัชชนกิจ (รู้ว่าอารมณ์กระทบ)
     4.ทัสสนกิจ (เห็น)
     5. สวนกิจ (ได้ยิน)

     6.ฆายนกิจ (ได้กลิ่น)
     7.สายนกิจ (ลิ้มรส)
     8.ผุสสนกิจ (สัมผัสทางกาย)
     9.สัมปฏิจฉันนกิจ (รับอารมณ์)
     10.สันตีรณกิจ (พิจารณาอารมณ์)

     11.โวฏฐัพพนกิจ (ตัดสินอารมณ์) 
     12.ชวนกิจ (แล่นไปในอารมณ์)
     13.ตทาลัมพณกิจ(รับอารมณ์ต่อจากชวนจิต)
     14.จุติกิจ (ตาย)


http://agaligohome.fx.gs/index.php?topic=2136.msg7815;topicseen#msg7815
ใต้ร่มธรรมดอทเน็ต
อนุโมทนาสาธุที่มาทั้งหมดมากมายค่ะ

Share this topic on AskShare this topic on DiggShare this topic on FacebookShare this topic on GoogleShare this topic on LiveShare this topic on RedditShare this topic on TwitterShare this topic on YahooShare this topic on Google buzz

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 01 มกราคม 2554 19:03:33 โดย เงาฝัน » บันทึกการเข้า
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
*

คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
United Kingdom United Kingdom

กระทู้: 7866


• Big Bear •

ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 2.0.157.2 Chrome 2.0.157.2


ไม่มี ไม่ใช้ ไม่รู้
ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #1 เมื่อ: 31 ธันวาคม 2553 16:06:30 »

ขอบคุณครับ

เคยอ่านเจอเมื่อนานมาแล้ว

จำชื่อหนังสือไม่ได้แล้วด้วยซ้ำ

เป็นความรู้ที่ดีมากเลยครับ
บันทึกการเข้า

B l a c k B e a r : T h e D i a r y
เงาฝัน
สุขใจ คนพิเศษ
นักโพสท์ระดับ 15
*

คะแนนความดี: +58/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: หญิง
Thailand Thailand

กระทู้: 7493


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Firefox 2.0.0.20 Firefox 2.0.0.20


ดูรายละเอียด
« ตอบ #2 เมื่อ: 31 ธันวาคม 2553 19:47:38 »


ชนิดของจิตในพระอภิธรรม

อกุศลจิต คือ อกุศล+จิต หมายความว่า
จิตมีอกุศลปรุงแต่งอยู่ ๑๒ ชนิด

อเหตุกจิต คือ อเหตุก+จิต หมายความว่า
จิตไม่มีโลภะ โทสะ โมหะ,อโลภะ อโทสะ อโมหะเป็นเหตุให้เกิด ๑๘ ชนิด

กามาวจรจิต คือ กามาวจร+จิต หมายความว่า
จิตที่ท่องเที่ยวอยู่ในอารมณ์อันน่ารักใคร่ ๒๔ ชนิด ได้แก่ บุคคลชั้นเทพ ๖ ชั้น

รูปาวจรจิต คือ รูปาวจร+จิต หมายความว่า
จิตที่ท่องเที่ยวในรูปพรหม ๑๕ ชนิด

อรูปาวจรจิต คือ อรูปาวจร+จิต หมายความว่า
จิตที่ท่องเที่ยวอยู่ในอรูปพรหม ๑๒ ชนิด

โลกุตตรจิต หมายความถึง
มรรคและผลที่เข้าไปประกอบจิตทำให้อยู่เหนือโลก (อารมณ์) รวม ๘ ชนิด
และในแต่ละชนิดเหล่านี้ ต่างก็มีปัญจมฌาน (ฌาน ๕) ประกอบอยู่ด้วย
ดังนั้น จึงเป็นจิตโดยละเอียด เท่ากับ ๘x๕ คือ ๔๐ ชนิด

เพราะฉะนั้น
ในพระอภิธรรมจึงมีจิต โดยย่อ ๘๙ ชนิด โดยละเอียด ๑๒๑ ชนิด


การที่เรียก จิต เป็น ชนิด
เรียกตามชนิดของอารมณ์ที่เข้ามาปรุงแต่ง
แต่ในพระอภิธรรม เรียกระบุเป็น ๘๙ ดวง และ ๑๒๑ ดวง...



agaligohome * ใต้ร่มธรรมดอทเน็ต
อนุโมทนาสาธุที่มาทั้งหมดมากมายค่ะ
บันทึกการเข้า
เงาฝัน
สุขใจ คนพิเศษ
นักโพสท์ระดับ 15
*

คะแนนความดี: +58/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: หญิง
Thailand Thailand

กระทู้: 7493


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Firefox 2.0.0.20 Firefox 2.0.0.20


ดูรายละเอียด
« ตอบ #3 เมื่อ: 01 มกราคม 2554 17:04:55 »


จิตตสังขาร (ได้แก่ เจตนาเจตสิก ที่ประกอบกับ
อกุศลจิต ๑๒ มหากุศลจิต ๘ รูปาวจรกุศลจิต ๕ อรูปาวจรจิต ๔
หรือเรียกว่า เจตนา ๒๙ )

ที่ชื่อว่า จิตตสังขาร เพราะอรรถว่า เป็นสังขาร (การปรุงแต่ง) อันจิตเป็นไป หรือเพราะจิต หรือเป็นไปแต่จิต

ชื่อว่า วจีสังขาร กายสังขาร และจิตตสังขาร ที่พระธัมมทินนาเถรีกล่าวในประโยคอาทิว่า
“ดูก่อนวิสาขะผู้มีอายุ เมื่อภิกษุเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ วจีสังขารย่อมดับก่อน
ต่อจากนั้นกายสังขารก็ดับ ต่อจากนั้นจิตตสังขารก็ย่อมดับ” ๓ ดังนี้

วจีสังขาร ได้แก่ วิตก วิจาร

กายสังขาร ได้แก่ ลมหายใจเข้า ลมหายใจออก

จิตตสังขาร ได้แก่ สัญญา และเวทนา

   ดูกรคฤหบดี ลมหายใจเข้าและลมหายใจออกเป็นของเกิดที่กาย
   ธรรมเหล่านี้เนื่องด้วยกาย
   ฉะนั้น ลมหายใจเข้าและลมหายใจออกจึงชื่อว่ากายสังขาร

   
บุคคลย่อมตรึกตรองก่อนแล้ว จึงเปล่งวาจาภายหลัง
   ฉะนั้น วิตกวิจาร จึงชื่อว่าวจีสังขาร
   สัญญาและเวทนาเป็นของเกิดที่จิต ธรรมเหล่านี้เนื่องด้วยจิต
   ฉะนั้น สัญญาและเวทนาจึงชื่อว่าจิตตสังขาร

บันทึกการเข้า
เงาฝัน
สุขใจ คนพิเศษ
นักโพสท์ระดับ 15
*

คะแนนความดี: +58/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: หญิง
Thailand Thailand

กระทู้: 7493


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Firefox 2.0.0.20 Firefox 2.0.0.20


ดูรายละเอียด
« ตอบ #4 เมื่อ: 01 มกราคม 2554 18:03:57 »


จิตตสังขาร... เมื่อดับไป... ก็ยังไม่ใช่พระนิพพาน
ได้แต่เข้าไปอาศัยอยู่ใน สัญญาเวทยิตนิโรธ เท่านั้น

สัญญาเวยิทนิโรธนั้น ไม่ใช่พระนิพพาน...

กามภูสูตร

สังขาร ๓ และวิธีดับ
ปัญหา กายสังขาร วจีสังขาร จิตตสังขารคืออะไร และสังขารทั้ง ๓ นี้ดับไปเมื่อใด ?

พระกามภูตอบ "ดูก่อนคฤหบดีลมหายใจเข้าและหายใจออก
ชื่อว่ากายสังขาร...ลมหายใจเข้าหายใจออกเป็นของเกิดที่กายธรรมเหล่านี้เนื่องด้วยกาย
ฉะนั้น...จึงชื่อว่ากายสังขาร...

"วิตกวิจารชื่อว่าวจีสังขาร...บุคคลตรึกตรองก่อนจึงเปล่งวาจาภายหลัง
ฉะนั้น วิตกวิจารจึงชื่อว่า วจีสังขาร...

"สัญญาและเวทนาชื่อว่าจิตตสังขาร...สัญญาและเวทนาเป็นของเกิดที่จิต
ธรรมเหล่านี้เนื่องด้วยจิตฉะนั้น...จึงชื่อว่าจิตตสังขาร

"ดูก่อนคฤหบดี เมื่อภิกษุเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธอยู่ วจีสังขารดับก่อน
ต่อจากนั้นกายสังขารดับต่อจากนั้นจิตตสังขารจึงดับ..."


กามภูสูตรที่ ๒

http://www.sookjai.com/index.php?topic=14555.msg31442;topicseen#lastPost
agaligohome * ใต้ร่มธรรมดอทเน็ต
อนุโมทนาสาธุที่มาทั้งหมดมากมายค่ะ
บันทึกการเข้า
คำค้น:
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  


คุณ ไม่สามารถ ตั้งกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์ได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความได้
BBCode เปิดใช้งาน
Smilies เปิดใช้งาน
[img] เปิดใช้งาน
HTML เปิดใช้งาน

Powered by MySQL Powered by PHP
Bookmark and Share

www.SookJai.com Created By Mckaforce | Sookjai.com Sitemap | CopyRight All Rights Reserved
Mckaforce Group | Sookjai Group
Best viewed with IE 7.0 , Chrome , Opera , Firefox 3.5
Compatible All OS , Resolution 1024 x 768 Or Higher
Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.266 วินาที กับ 31 คำสั่ง

Google visited last this page 19 ธันวาคม 2567 23:25:58