โรเบิร์ต ออปเพนไฮเมอร์ กล่าวว่า"หากเราถามว่าตำแหน่งของอิเล็กตรอนคงเดิมอยู่เสมอหรือ เราต้องตอบว่า ”ไม่”
หากเราถามว่าตำแหน่งของอิเล็กตรอนเปลี่ยนแปลงไปเมื่อเวลาผ่านไปหรือ เราต้องตอบว่า”ไม่”
ถ้าเราถามว่าอิเล็กตรอนอยู่นิ่งหรือ เราต้องตอบว่า”ไม่”
ถ้าเราถามว่ามันกำลังเคลื่อนที่หรือ เราต้องตอบว่า “ไม่”
พระพุทธเจ้าได้ประทานคำตอบเช่นเดียวกัน เมื่อทรงได้รับคำถามเกี่ยวกับสถานการณ์
ของตัวตนของมนุษย์ภายหลังความตาย แต่คำตอบเหล่านั้นมิใช่คำตอบที่คุ้นเคยกับจารีตประเพณี
ของวิทยาศาสตร์ สมัยสตวรรษที่ 17 และ 18"
The American physicist J. Robert Oppenheimer made an analogy to Buddhism
when describing the Heisenberg uncertainty principle:
"If we ask, for instance, whether the position of the electron remains the same,
we must say 'no;' if we ask whether the electron's position changes with time,
we must say 'no;' if we ask whether the electron is at rest, we must say 'no;'
if we ask whether it is in motion, we must say 'no.'
The Buddha has given such answers when interrogated as to the conditions of man's self
after his death; but they are not familiar answers for the tradition
of seventeenth and eighteenth-century science"
ดร. เจ.โรเบิร์ต ออพเพ็นไฮม์เมอร์ (J.Robert Oppenheimer)
นักวิทยาศาสตร์ฟิสิกส์อเมริกัน (ค.ศ.1904-1967) ผู้นำในการพัฒนาระเบิดปรมาณู