[ สุขใจ ดอท คอม บ้านหลังเล็กอันแสนอบอุ่น ] ธรรมะ พุทธประวัติ ฟังธรรม ดูหนัง ฟังเพลง เกมส์ เบาสมอง ดูดวง สุขภาพ สารพันความรู้
22 ธันวาคม 2567 08:23:33 *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
  หน้าแรก   เวบบอร์ด   ช่วยเหลือ ห้องเกม ปฏิทิน Tags เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก ห้องสนทนา  
บุคคลทั่วไป, คุณถูกห้ามตั้งกระทู้หรือส่งข้อความส่วนตัวในฟอรั่มนี้
Fuck Advertise !!

หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: บทสวด ทำวัตรสวดมนต์  (อ่าน 10193 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 3 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
Maintenence
ผู้ดูแลระบบ
นักโพสท์ระดับ 10
*

คะแนนความดี: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
Thailand Thailand

กระทู้: 1117


[• บำรุงรักษา •]

ระบบปฏิบัติการ:
Windows 7/Server 2008 R2 Windows 7/Server 2008 R2
เวบเบราเซอร์:
Chrome 62.0.3202.94 Chrome 62.0.3202.94


ดูรายละเอียด
« เมื่อ: 04 ธันวาคม 2560 11:30:21 »




บทสวด ทำวัตรสวดมนต์

การทำวัตรสวดมนต์ ถือว่าเป็นประเพณี เป็นกิจวัตรข้อปฏิบัติอันเป็นมงคลของบุคคลผู้นับถือพระพุทธศาสนามาตั้งแต่กาลนานแล้ว มีปรากฏในพระไตรปิฎกตอนหนึ่งว่า พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อคราวที่พระองค์เสด็จไปเพื่อทรงระงับภัย ๓ ประการ ที่เมือง ไพสาลี มีทุพภิกขภัย ภัยคือความที่ข้าวยากหมากแพง ภัยจากอมนุษย์ปีศาจร้ายต่างๆ และภัยจากอหิวาตกโรค ทำให้ประชาชนในเมืองนั้นเจ็บป่วยล้มตายเป็นจำนวนมาก พระองค์ก็ทรงประทานบาตรศิลาของพระองค์ที่ท้าวมหาพรหมเป็นผู้ถวาย ประทานให้พระอานนท์เถระบรรจุน้ำพระพุทธมนต์ และทรงให้พระอานนท์เถระเรียนเอารตนสูตร สวดรตนสูตรพร้อมประพรมน้ำพระพุทธมนต์ไปรอบพระนคร พวกอมนุษย์ที่อยู่ในเมืองนั้น พอพระอานนท์พร้อมคณะสงฆ์เพียงเริ่มสวดว่า “ยัง กิญจิ” ประพรมน้ำพระพุทธมนต์ไปเท่านั้น พวกอมนุษย์ที่อยู่ในที่นั้นๆ ก็วิ่งหลบหนีกันโกลาหล อมนุษย์ตนที่หนีไปไม่ทันก็พังกำแพงฝาเรือนหนีออกไป คนที่ป่วยอยู่เมื่อได้ยินเสียงสวดรตนสูตร ถูกน้ำพระพุทธมนต์ที่พระอานนท์ประพรมไปเท่านั้น อาการป่วยไข้ก็พลันหายไป ลุกขึ้นมาเดินตามขบวนของท่านไปรอบพระนคร ทำให้เมืองไพสาลีสงบระงับจากภัย ๓ ประการ ด้วยการสวดมนต์ และการทำวัตรสวดมนต์ ถือว่าเป็นกิจวัตรอันเป็นมงคลอย่างยิ่งของผู้นับถือพระพุทธศาสนาเพราะเป็นเหตุ

- ให้ได้ระลึกถึงคุณของพระพุทธเจ้า เนืองๆ

- ให้ได้ระลึกถึงคุณของพระธรรมเจ้า เนืองๆ

- ให้ได้ระลึกถึงคุณของพระสังฆเจ้า เนืองๆ

- ให้ได้พิจารณาธรรม วิจัยธรรม ไตร่ตรองธรรม เนืองๆ

- ให้จิตใจสงบระงับจากความวิตกกังวล ความฟุ้งซ่าน จากนิวรณ์ธรรมต่างๆ ทำจิตใจให้สงบเย็นสบาย

- เป็นบ่อเกิดแห่งศรัทธาในพระรัตนตรัย เนืองๆ

- เป็นบ่อเกิดแห่งการเรียนรู้คำสอนของพระพุทธเจ้า เนืองๆ

- เป็นการเจริญสมาธิหมู่ ทำให้ได้สมาธิ มีขณิกสมาธิ อุปจารสมาธิ ปฐมฌาน เป็นต้น

- เป็นการเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐาน ทำให้บรรลุมรรค ผล พระนิพพานได้

ฉะนั้น จึงควรทำการอนุรักษ์การทำวัตรสวดมนต์ เพราะถือว่าเป็นขุมแห่งบุญ เป็นขุมแห่งปัญญาอันจะเป็นปฏิปทารักษาพระพุทธพจน์คำสอนของพระพุทธเจ้าให้เจริญอยู่กับจิตใจของพุทธบริษัททั้งหลายตลอดเวลา และเป็นปฏิปทาอันจะเป็นเหตุให้ได้โลกิยบุญ ทำให้เกิดเป็นมนุษย์ เทวดา และพรหม เป็นปฏิปทาแห่งโลกุตตรบุญ อันจะเป็นเหตุทำให้แจ้งซึ่งความพ้นทุกข์ ถึงสันติสุขกล่าวคือการบรรลุ มรรค ผล พระนิพพานได้

พระครูสิริภาวนาภิรม



บทสวดทำวัตรเช้า

  คำบูชาพระรัตนตรัย
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา,
พระผู้มีพระภาคเจ้า, เป็นพระอรหันต์, ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์สิ้นเชิง, ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง;

พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ.
ข้าพเจ้าอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า, ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน; (กราบ)

ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
พระธรรมเป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้า, ตรัสไว้ดีแล้ว;

ธัมมัง นะมัสสามิ.
ข้าพเจ้านมัสการพระธรรม; (กราบ)

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า, ปฏิบัติดีแล้ว;

สังฆัง นะมามิ.
ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์. (กราบ)

        -----------------------

  ปุพพภาคะนมะการะ

(นำ) หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส.

(รับ) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น;
อะระหะโต ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส
สัมมาสัมพุทธัสสะ ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น;
อะระหะโต ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส
สัมมาสัมพุทธัสสะ ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น;
อะระหะโต ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส
สัมมาสัมพุทธัสสะ ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง.

        -----------------------

  พุทธาภิถุติ

(นำ) หันทะ มะยัง พุทธาภิถุติง กะโรมะ เส.

(รับ) โย โส ตะถาคะโต พระตถาคตเจ้านั้น พระองค์ใด;
อะระหัง เป็นผู้ไกลจากกิเลส
สัมมาสัมพุทโธ เป็นผู้ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
วิชชาจะระณะสัมปันโน เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ
สุคะโต เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี
โลกะวิทู เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้ อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า
สัตถา เทวะมะนุสสานัง เป็นครูผู้สอน ของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
พุทโธ เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้วยธรร
ภะคะวา เป็นผู้มีความจำเริญจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์

โย อิมัง โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพรัห๎มะกัง, สัสสะมะณะพราห๎มะณิง ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง สะยัง อะภิญญา สัจฉิกัต๎วา ปะเวเทสิ,

พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด, ได้ทรงทำความดับทุกข์ให้แจ้งด้วยพระปัญญาอันยิ่งเองแล้ว, ทรงสอนโลกนี้พร้อมทั้งเทวดา, มาร, พรหม, และหมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์, พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์ให้รู้ตาม;

โย ธัมมัง เทเสสิ, พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ใด ทรงแสดงธรรมแล้ว;  
อาทิกัล๎ยาณัง ไพเราะในเบื้องต้น
มัชเฌกัล๎ยาณัง ไพเราะในท่ามกลาง
ปะริโยสานะกัล๎ยาณัง ไพเราะในที่สุด

สาตถัง สะพ๎ยัญชะนัง เกวะละปะริปุณณัง ปะริสุทธัง พรัห๎มะจะริยัง ปะกาเสสิ,

ทรงประกาศพรหมจรรย์, คือแบบแห่งการปฏิบัติอันประเสริฐ บริสุทธิ์ บริบูรณ์สิ้นเชิง, พร้อมทั้งอรรถะ พร้อมทั้งพยัญชนะ;

ตะมะหัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ,

ข้าพเจ้าบูชาอย่างยิ่ง เฉพาะพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น;

ตะมะหัง ภะคะวันตัง สิระสา นะมามิ,

ข้าพเจ้านอบน้อมพระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น ด้วยเศียรเกล้า;

        (กราบระลึกถึงพระพุทธคุณ)

        -----------------------


  ธัมมาภิถุติ

(นำ) หันทะ มะยัง ธัมมาภิถุติง กะโรมะ เส.

(รับ) โย โส ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,

พระธรรมนั้นใด เป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้า, ได้ตรัสไว้ดีแล้ว;

สันทิฏฐิโก เป็นธรรมที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติพึงเห็นได้ด้วยตนเอง
อะกาลิโก เป็นธรรมที่ปฏิบัติได้และให้ผลได้ไม่จำกัดกาล
เอหิปัสสิโก เป็นธรรมที่ควรกล่าวกะผู้อื่นว่า ท่านจงมาดูเถิด
โอปะนะยิโก เป็นธรรมที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว
ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิ เป็นธรรมที่ผู้รู้ก็รู้ได้เฉพาะตน
ตะมะหัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิ ข้าพเจ้าบูชาอย่างยิ่ง เฉพาะพระธรรมนั้น
ตะมะหัง ธัมมัง สิระสา นะมามิ  ข้าพเจ้านอบน้อมพระธรรมนั้น ด้วยเศียรเกล้า.  

        (กราบระลึกถึงพระธรรมคุณ)

        -----------------------


  สังฆาภิถุติ

(นำ) หันทะ มะยัง สังฆาภิถุติง กะโรมะ เส.

(รับ) โย โส สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น หมู่ใด, ปฏิบัติดีแล้ว;

อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า หมู่ใด, ปฏิบัติตรงแล้ว;

ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า หมู่ใด, ปฏิบัติเพื่อรู้ธรรมเป็นเครื่องออกจากทุกข์แล้ว;

สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า หมู่ใด, ปฏิบัติสมควรแล้ว;

ยะทิทัง ได้แก่บุคคลเหล่านี้คือ
จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา คู่แห่งบุรุษ ๔ คู่, นับเรียงตัวบุรุษได้ ๘ บุรุษ
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ นั่นแหละสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า
อาหุเนยโย เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขานำมาบูชา
ปาหุเนยโย เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขาจัดไว้ต้อนรับ
ทักขิเณยโย เป็นผู้ควรรับทักษิณาทาน
อัญชะลิกะระณีโย เป็นผู้ที่บุคคลทั่วไปควรทำอัญชลี
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ เป็นเนื้อนาบุญของโลก, ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า
ตะมะหัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ ข้าพเจ้าบูชาอย่างยิ่ง เฉพาะพระสงฆ์หมู่นั้น
ตะมะหัง สังฆัง สิระสา นะมามิ ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์หมู่นั้น ด้วยเศียรเกล้า.

        (กราบระลึกถึงพระสังฆคุณ)

        -----------------------


แหล่งที่มา : วัดพิชโสภาราม

Share this topic on AskShare this topic on DiggShare this topic on FacebookShare this topic on GoogleShare this topic on LiveShare this topic on RedditShare this topic on TwitterShare this topic on YahooShare this topic on Google buzz

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 10 สิงหาคม 2561 14:45:32 โดย Maintenence » บันทึกการเข้า

[• สุขใจ บำรุงรักษาระบบ •]
Maintenence
ผู้ดูแลระบบ
นักโพสท์ระดับ 10
*

คะแนนความดี: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
Thailand Thailand

กระทู้: 1117


[• บำรุงรักษา •]

ระบบปฏิบัติการ:
Windows 7/Server 2008 R2 Windows 7/Server 2008 R2
เวบเบราเซอร์:
Chrome 62.0.3202.94 Chrome 62.0.3202.94


ดูรายละเอียด
« ตอบ #1 เมื่อ: 04 ธันวาคม 2560 11:36:34 »



บทสวดทำวัตรเช้า
รตนัตตยัปปณามคาถา

(นำ) หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถาโย เจวะ สังเวคะปะริกิตตะนะปาฐัญจะ ภะณามะ เส.

(รับ) พุทโธ สุสุทโธ กะรุณามะหัณณะโว,

พระพุทธเจ้าผู้บริสุทธิ์มีพระกรุณาดุจห้วงมหรรณพ;

โยจจันตะสุทธัพพะระญาณะโลจะโน,

พระองค์ใดมีตาคือญาณอันประเสริฐหมดจดถึงที่สุด;

โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก,

เป็นผู้ฆ่าเสียซึ่งบาปและอุปกิเลสของโลก;

วันทามิ พุทธัง อะหะมาทะเรนะ ตัง,

ข้าพเจ้าไหว้พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น โดยใจเคารพเอื้อเฟื้อ;

ธัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน,

พระธรรมของพระศาสดาสว่างรุ่งเรืองเปรียบดวงประทีป;

โย มัคคะปากามะตะเภทะภินนะโก,

จำแนกประเภทคือ มรรค ผล นิพพาน ส่วนใด;

โลกุตตะโร โย จะ ตะทัตถะทีปะโน,

ซึ่งเป็นตัวโลกุตตระ และส่วนใดที่ชี้แนวแห่งโลกุตตระนั้น;

วันทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง,

ข้าพเจ้าไหว้พระธรรมนั้น โดยใจเคารพเอื้อเฟื้อ;

สังโฆ สุเขตตาภะยะติเขตตะสัญญิโต,

พระสงฆ์เป็นนาบุญอันยิ่งใหญ่กว่านาบุญอันดีทั้งหลาย;

โย ทิฏฐะสันโต สุคะตานุโพธะโก,

เป็นผู้เห็นพระนิพพาน ตรัสรู้ตามพระสุคต หมู่ใด;

โลลัปปะหีโน อะริโย สุเมธะโส,

เป็นผู้ละกิเลสเครื่องโลเล เป็นพระอริยเจ้า มีปัญญาดี;

วันทามิ สังฆัง อะหะมาทะเรนะ ตัง,

ข้าพเจ้าไหว้พระสงฆ์หมู่นั้นโดยใจเคารพเอื้อเฟื้อ;

อิจเจวะเมกันตะภิปูชะเนยยะกัง วัตถุตตะยัง วันทะยะตาภิสังขะตัง ปุญญัง มะยา ยัง มะมะ สัพพุปัททะวา มา โหนตุ เว ตัสสะ ปะภาวะสิทธิยา,

บุญใดที่ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่ซึ่งวัตถุสาม, คือพระรัตนตรัยอันควรบูชายิ่งโดยส่วนเดียว, ได้กระทำแล้วเป็นอย่างยิ่งเช่นนี้นี้, ขออุปัทวะทั้งหลาย, จงอย่ามีแก่ข้าพเจ้าเลย, ด้วยอำนาจความสำเร็จอันเกิดจากบุญนั้น.



แหล่งที่มา : วัดพิชโสภาราม


   
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 10 สิงหาคม 2561 14:44:53 โดย Maintenence » บันทึกการเข้า

[• สุขใจ บำรุงรักษาระบบ •]
Maintenence
ผู้ดูแลระบบ
นักโพสท์ระดับ 10
*

คะแนนความดี: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
Thailand Thailand

กระทู้: 1117


[• บำรุงรักษา •]

ระบบปฏิบัติการ:
Windows 7/Server 2008 R2 Windows 7/Server 2008 R2
เวบเบราเซอร์:
Chrome 63.0.3239.84 Chrome 63.0.3239.84


ดูรายละเอียด
« ตอบ #2 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2560 11:36:56 »



บทสวดทำวัตรเช้า
  สังเวคะปริกิตตนะปาฐะ

อิธะ ตะถาคะโต โลเก อุปปันโน
พระตถาคตเจ้าเกิดขึ้นแล้วในโลกนี้

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
เป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
 
ธัมโม จะ เทสิโต นิยยานิโก
และพระธรรมที่ทรงแสดงเป็นธรรมเครื่องออกจากทุกข์

อุปะสะมิโก ปะรินิพพานิโก
เป็นเครื่องสงบกิเลส เป็นไปเพื่อปรินิพพาน

สัมโพธะคามี สุคะตัปปะเวทิโต
เป็นไปเพื่อความรู้พร้อม เป็นธรรมที่พระสุคตประกาศ

มะยันตัง ธัมมัง สุต๎วา เอวัง ชานามะ
พวกเราเมื่อได้ฟังธรรมนั้นแล้ว จึงได้รู้อย่างนี้ว่า
 
ชาติปิ ทุกขา
แม้ความเกิดก็เป็นทุกข์

ชะราปิ ทุกขา
แม้ความแก่ก็เป็นทุกข์

มะระณัมปิ ทุกขัง
แม้ความตายก็เป็นทุกข์

โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา,
แม้ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ ความคับแค้นใจ ก็เป็นทุกข์;

อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข
ความประสบกับสิ่งไม่เป็นที่รักที่พอใจ ก็เป็นทุกข์

ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข
ความพลัดพรากจากสิ่งเป็นที่รักที่พอใจ ก็เป็นทุกข์

ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง
มีความปรารถนาสิ่งใดไม่ได้สิ่งนั้น นั่นก็เป็นทุกข์

สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา
ว่าโดยย่อ อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ เป็นตัวทุกข์

เสยยะถีทัง
ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ
 
รูปูปาทานักขันโธ
ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ รูป

เวทะนูปาทานักขันโธ
ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ เวทนา

สัญญูปาทานักขันโธ
ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ สัญญา

สังขารูปาทานักขันโธ
ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ สังขาร

วิญญาณูปาทานักขันโธ
ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ วิญญาณ

เยสัง ปะริญญายะ
เพื่อให้สาวกกำหนดรอบรู้อุปาทานขันธ์เหล่านี้เอง

ธะระมาโน โส ภะคะวา
จึงพระผู้มีภาคเจ้านั้น เมื่อยังทรงพระชนม์อยู่;

เอวัง พะหุลัง สาวะเก วิเนติ
ย่อมทรงแนะนำสาวกทั้งหลาย เช่นนี้เป็นส่วนมาก

เอวัง ภาคา จะ ปะนัสสะ ภะคะวะโต สาวะเกสุ อะนุสาสะนี พะหุลา ปะวัตตะติ,
อนึ่ง คำสั่งสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น, ย่อมเป็นไปในสาวกทั้งหลายส่วนมาก, มีส่วนคือการจำแนกอย่างนี้ว่า;

รูปัง อะนิจจัง,  
รูปไม่เที่ยง;

เวทะนา อะนิจจา,  
เวทนาไม่เที่ยง;

สัญญา อะนิจจา,
สัญญาไม่เที่ยง;

สังขารา อะนิจจา,
สังขารไม่เที่ยง;

วิญญาณัง อะนิจจัง,  
วิญญาณไม่เที่ยง;

รูปัง อะนัตตา,  
รูปไม่ใช่ตัวตน;

เวทะนา อะนัตตา,
วทนาไม่ใช่ตัวตน;

สัญญา อะนัตตา,  
สัญญาไม่ใช่ตัวตน;

สังขารา อะนัตตา,  
สังขารไม่ใช่ตัวตน;

วิญญาณัง อะนัตตา,  
วิญญาณไม่ใช่ตัวตน;

สัพเพ สังขารา อะนิจจา,  
สังขารทั้งหลายทั้งปวงไม่เที่ยง;

สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ,
ธรรมทั้งหลายทั้งปวง ไม่ใช่ตัวตน ดังนี้.

เต (หญิง ตา) มะยัง โอติณณามะหะ,  
พวกเราทั้งหลายเป็นผู้ถูกครอบงำแล้ว;

ชาติยา,  
โดยความเกิด;  

ชะรามะระเณนะ,  
โดยความแก่ และความตาย;  

โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ,
โดยความโศก ความร่ำไรรำพัน ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ ความคับแค้นใจทั้งหลาย;

ทุกโขติณณา
เป็นผู้ถูกความทุกข์หยั่งเอาแล้ว

ทุกขะปะเรตา
เป็นผู้มีความทุกข์เป็นเบื้องหน้าแล้ว

อัปเปวะนามิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยา ปัญญาเยถาติ.
ทำไฉน การทำที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้, จะพึงปรากฏชัดแก่เราได้.


  สำหรับพระภิกษุสามเณรสวด

จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง อุททิสสะ อะระหันตัง สัมมาสัมพุทธัง,
เราทั้งหลาย, อุทิศเฉพาะพระผู้มีพระภาคเจ้า, ผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง, แม้ปรินิพพานนานแล้วพระองค์นั้น;

สัทธา อะคารัส๎มา อะนะคาริยัง ปัพพะชิตา,
เป็นผู้มีศรัทธาออกบวชจากเรือน ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนแล้ว;

ตัส๎มิง ภะคะวะติ พรัห๎มะจะริยัง จะรามะ,
ประพฤติอยู่ซึ่งพรหมจรรย์ ในพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น;

ภิกขูนัง (สามะเณรานัง) สิกขาสาชีวะสะมาปันนา,
ถึงพร้อมด้วยสิกขาและธรรมเป็นเครื่องเลี้ยงชีวิตของภิกษุทั้งหลาย; (สามเณรทั้งหลาย),

ตัง โน พรัห๎มะจะริยัง อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ.
ขอให้พรหมจรรย์ของเราทั้งหลายนั้น, จงเป็นไปเพื่อการทำที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ เทอญ ฯ


  สำหรับคฤหัสถ์สวด

จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะตา,
เราทั้งหลายผู้ถึงแล้วซึ่งผู้มีพระภาคเจ้า แม้ปรินิพพานนานแล้ว พระองค์นั้น เป็นสรณะ;

ธัมมัญจะ สังฆัญจะ,
ถึงพระธรรมด้วย ถึงพระสงฆ์ด้วย;

ตัสสะ ภะคะวะโต สาสะนัง ยะถาสะติ ยะถาพะลัง มะนะสิกะโรมะ อะนุปะฏิปัชชามะ,
จักทำในใจอยู่ ปฏิบัติตามอยู่ ซึ่งคำสั่งสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ตามสติกำลัง;

สา สา โน ปะฏิปัตติ,
ขอให้ความปฏิบัตินั้นๆ ของเราทั้งหลาย;

อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ,
จงเป็นไปเพื่อการทำที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ เทอญ ฯ

-----------------------


แหล่งที่มา : วัดพิชโสภาราม
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 10 สิงหาคม 2561 14:44:36 โดย Maintenence » บันทึกการเข้า

[• สุขใจ บำรุงรักษาระบบ •]
Maintenence
ผู้ดูแลระบบ
นักโพสท์ระดับ 10
*

คะแนนความดี: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
Thailand Thailand

กระทู้: 1117


[• บำรุงรักษา •]

ระบบปฏิบัติการ:
Windows 7/Server 2008 R2 Windows 7/Server 2008 R2
เวบเบราเซอร์:
Chrome 63.0.3239.84 Chrome 63.0.3239.84


ดูรายละเอียด
« ตอบ #3 เมื่อ: 27 ธันวาคม 2560 11:26:49 »



บทสวดทำวัตรเช้า
  ถวายพรพระ

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ฯ

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ฯ

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ฯ

อิติปิ โส ภะคะวา, อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปันโน, สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ, สัตถา เทวะมะนุสสานัง, พุทโธ ภะคะวาติ ฯ

ส๎วากขาโต, ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก, อะกาลิโก, เอหิปัสสิโก, โอปะนะยิโก ปัตจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ ฯ

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ, อัฏฐะปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย, ปาหุเนยโย, ทักขิเณยโย, อัญชะลิกะระณีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ ฯ

พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง

ค๎รีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง

ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง

โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง

ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง

ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง

เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง

ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง

อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

กัต๎วานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินิยา

จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ

สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง

วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง

ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง

ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต

อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง

พรัห๎มัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง

ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา

โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที

หิต๎วานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ

โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ ฯ

มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
ปูเรต๎วา ปาระมี สัพพา  ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ  โหตุ เต ชะยะมังคะลัง ฯ
ชะยันโต โพธิยา มูเล  สัก๎ยานัง นันทิวัฑฒะโน
เอวัง ต๎วัง วิชะโย โหหิ  ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
อะปะราชิตะปัลลังเก  สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง  อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ ฯ
สุนักขัตตัง สุมังคะลัง  สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง
สุขะโณ สุมุหุตโต จะ  สุยิฏฐัง พรัห๎มะจาริสุ
ปะทักขิณัง กายะกัมมัง  วาจากัมมัง ปะทักขิณัง
ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง  ปะณิธี เต ปะทักขิณา
ปะทักขิณานิ กัต๎วานะ  ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ ฯ

          -----------------------


แหล่งที่มา : วัดพิชโสภาราม
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 10 สิงหาคม 2561 14:44:16 โดย Maintenence » บันทึกการเข้า

[• สุขใจ บำรุงรักษาระบบ •]
Maintenence
ผู้ดูแลระบบ
นักโพสท์ระดับ 10
*

คะแนนความดี: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
Thailand Thailand

กระทู้: 1117


[• บำรุงรักษา •]

ระบบปฏิบัติการ:
Windows 7/Server 2008 R2 Windows 7/Server 2008 R2
เวบเบราเซอร์:
Chrome 63.0.3239.84 Chrome 63.0.3239.84


ดูรายละเอียด
« ตอบ #4 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2560 09:05:58 »



บทสวดทำวัตรเช้า
  ธาตุปัจจเวกขณปาฐะ

(นำ) หันทะ มะยัง ธาตุปะฏิกูละปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส.

  (บทพิจารณาจีวร)
(รับ) ยะถาปัจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง,
สิ่งเหล่านี้นี่เป็นสักว่าธาตุตามธรรมชาติเท่านั้น กำลังเป็นไปตามเหตุตามปัจจัยอยู่เนืองนิจ;

ยะทิทัง จีวะรัง ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล,
สิ่งเหล่านี้คือจีวร และบุคคลผู้ใช้สอยจีวรนั้น;

ธาตุมัตตะโก เป็นสักว่าธาตุตามธรรมชาติ
นิสสัตโต มิได้เป็นสัตวะอันยั่งยืน
นิชชีโว มิได้เป็นชีวะอันเป็นบุรุษบุคคล
สุญโญ ว่างเปล่าจากความหมายแห่งความเป็นตัวตน

สัพพานิ ปะนะ อิมานิ จีวะรานิ อะชิคุจฉะนียานิ,
ก็จีวรทั้งหมดนี้ ไม่เป็นของน่าเกลียดมาแต่เดิม;

อิมัง ปูติกายัง ปัต๎วา ครั้นมาถูกเข้ากับกายอันเน่าอยู่เป็นนิจนี้แล้ว
อะติวิยะ ชิคุจฉะนียานิ ชายันติ ย่อมกลายเป็นของน่าเกลียดอย่างยิ่งไปด้วยกันฯ


  (บทพิจารณาบิณฑบาต)
ยะถาปัจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง,
สิ่งเหล่านี้นี่เป็นสักว่าธาตุตามธรรมชาติเท่านั้น กำลังเป็นไปตามเหตุตามปัจจัยอยู่เนืองนิจ;

ยะทิทัง ปิณฑะปาโต ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล,
สิ่งเหล่านี้คือบิณฑบาต และบุคคลผู้บริโภคบิณฑบาตนั้น;

ธาตุมัตตะโก เป็นสักว่าธาตุตามธรรมชาติ
นิสสัตโต มิได้เป็นสัตวะอันยั่งยืน
นิชชีโว มิได้เป็นชีวะอันเป็นบุรุษบุคคล
สุญโญ ว่างเปล่าจากความหมายแห่งความเป็นตัวตน

สัพโพ ปะนายัง ปิณฑะปาโต อะชิคุจฉะนีโย,
ก็บิณฑบาตทั้งหมดนี้ ไม่เป็นของน่าเกลียดมาแต่เดิม;

อิมัง ปูติกายัง ปัต๎วา ครั้นมาถูกเข้ากับกายอันเน่าอยู่เป็นนิจนี้แล้ว
อะติวิยะ ชิคุจฉะนียานิ ชายันติ ย่อมกลายเป็นของน่าเกลียดอย่างยิ่งไปด้วยกันฯ


  (บทพิจารณาเสนาสนะ)
ยะถาปัจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง,
สิ่งเหล่านี้นี่เป็นสักว่าธาตุตามธรรมชาติเท่านั้น กำลังเป็นไปตามเหตุตามปัจจัยอยู่เนืองนิจ;

ยะทิทัง เสนาสะนัง ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล,
สิ่งเหล่านี้คือเสนาสนะ และบุคคลผู้ใช้สอยเสนาสนะนั้น;

ธาตุมัตตะโก เป็นสักว่าธาตุตามธรรมชาติ
นิสสัตโต มิได้เป็นสัตวะอันยั่งยืน
นิชชีโว มิได้เป็นชีวะอันเป็นบุรุษบุคคล
สุญโญ ว่างเปล่าจากความหมายแห่งความเป็นตัวตน

สัพพานิ ปะนะ อิมานิ เสนาสะนานิ อะชิคุจฉะนียานิ,
ก็เสนาสนะทั้งหมดนี้ไม่เป็นของน่าเกลียดมาแต่เดิม;

อิมัง ปูติกายัง ปัต๎วา ครั้นมาถูกเข้ากับกายอันเน่าอยู่เป็นนิจนี้แล้ว
อะติวิยะ ชิคุจฉะนียานิ ชายันติ ย่อมกลายเป็นของน่าเกลียดอย่างยิ่งไปด้วยกันฯ


  (บทพิจารณาคิลานเภสัชบริขาร)
ยะถาปัจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง,
สิ่งเหล่านี้นี่เป็นสักว่าธาตุตามธรรมชาติเท่านั้น กำลังเป็นไปตามเหตุตามปัจจัยอยู่เนืองนิจ;

ยะทิทัง คิลานะปัจจะยะเภสัชชะปะริกขาโร ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล,
สิ่งเหล่านี้คือ คิลานเภสัชบริขารอันเกื้อกูลแก่คนไข้และบุคคลผู้บริโภคคิลานเภสัชบริขารนั้น;

ธาตุมัตตะโก เป็นสักว่าธาตุตามธรรมชาติ
นิสสัตโต มิได้เป็นสัตวะอันยั่งยืน
นิชชีโว มิได้เป็นชีวะอันเป็นบุรุษบุคคล
สุญโญ ว่างเปล่าจากความหมายแห่งความเป็นตัวตน

สัพโพ ปะนายัง คิลานะปัจจะยะเภสัชชะปะริกขาโร อะชิคุจฉะนีโย,
ก็คิลานเภสัชบริขารทั้งหมดนี้ไม่เป็นของน่าเกลียดมาแต่เดิม;

อิมัง ปูติกายัง ปัต๎วา ครั้นมาถูกเข้ากับกายอันเน่าอยู่เป็นนิจนี้แล้ว
อะติวิยะ ชิคุจฉะนียานิ ชายันติ ย่อมกลายเป็นของน่าเกลียดอย่างยิ่งไปด้วยกันฯ



แหล่งที่มา : วัดพิชโสภาราม
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 10 สิงหาคม 2561 14:44:00 โดย Maintenence » บันทึกการเข้า

[• สุขใจ บำรุงรักษาระบบ •]
Maintenence
ผู้ดูแลระบบ
นักโพสท์ระดับ 10
*

คะแนนความดี: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
Thailand Thailand

กระทู้: 1117


[• บำรุงรักษา •]

ระบบปฏิบัติการ:
Windows 7/Server 2008 R2 Windows 7/Server 2008 R2
เวบเบราเซอร์:
Chrome 63.0.3239.132 Chrome 63.0.3239.132


ดูรายละเอียด
« ตอบ #5 เมื่อ: 09 กุมภาพันธ์ 2561 09:46:14 »




บทสวดทำวัตรเช้า
  ตังขณิกปัจจเวกขณปาฐะ

(นำ) หันทะ มะยัง ตังขะณิกะปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส.

(พิจารณาขณะนุ่งห่มจีวร)

(รับ) ปะฏิสังขา โยนิโส จีวะรัง ปะฏิเสวามิ,
เราย่อมพิจารณาโดยแยบคายแล้วนุ่งห่มจีวร;

ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ เพียงเพื่อบำบัดความหนาว

อุณ๎หัสสะ ปะฏิฆาตายะ เพื่อบำบัดความร้อน

ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ,
เพื่อบำบัดสัมผัสอันเกิดจากเหลือบ ยุง ลม แดดและสัตว์เลื้อยคลานทั้งหลาย;

ยาวะเทวะ หิริโกปินะปะฏิจฉาทะนัตถังฯ
และเพียงเพื่อปกปิดอวัยวะอันให้เกิดความละอาย ฯ

(พิจารณาขณะฉัน)
ปะฏิสังขา โยนิโส ปิณฑะปาตัง ปะฏิเสวามิ,
เราย่อมพิจารณาโดยแยบคายแล้วฉันบิณฑบาต;

เนวะ ทะวายะ ไม่ให้เป็นไปเพื่อความเพลิดเพลินสนุกสนาน
นะ มะทายะ ไม่ให้เป็นไปเพื่อความเมามัน เกิดกำลัง พลังทางกาย
นะ มัณฑะนายะ ไม่ให้เป็นไปเพื่อประดับ
นะ วิภูสะนายะ ไม่ให้เป็นไปเพื่อตกแต่ง
ยาวะเทวะ อิมัสสะ กายัสสะ ฐิติยา แต่ให้เป็นไปเพียงเพื่อความตั้งอยู่ได้แห่งกายนี้
ยาปะนายะ เพื่อความเป็นไปได้ของอัตภาพ
วิหิงสุปะระติยา เพื่อความสิ้นไปแห่งความลำบากทางกาย
พรัห๎มะจะริยานุคคะหายะ เพื่ออนุเคราะห์แก่การประพฤติพรหมจรรย์
อิติ ปุราณัญจะ เวทะนัง ปะฏิหังขามิ ด้วยการทำอย่างนี้, เราย่อมระงับเสียได้ซึ่งทุกขเวทนาเก่าคือความหิว
นะวัญจะ เวทะนัง นะ อุปปาเทสสามิ และไม่ทำทุกขเวทนาใหม่ให้เกิดขึ้น

ยาต๎รา จะ เม ภะวิสสะติ อะนะวัชชะตา จะ ผาสุวิหาโร จาติ ฯ
อนึ่ง ความเป็นไปโดยสะดวกแห่งอัตภาพนี้ด้วย ความเป็นผู้หาโทษมิได้ด้วย และความเป็นอยู่โดยผาสุขด้วย จักมีแก่เรา ดังนี้;

(พิจารณาขณะใช้สอยเสนาสนะ)

ปะฏิสังขา โยนิโส เสนาสะนัง ปะฏิเสวามิ,
เราย่อมพิจารณาโดยแยบคายแล้วใช้สอยเสนาสนะ;

ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ เพียงเพื่อบำบัดความหนาว

อุณ๎หัสสะ ปะฏิฆาตายะ เพื่อบำบัดความร้อน

ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ,
เพื่อบำบัดสัมผัสอันเกิดจากเหลือบ ยุง ลม แดดและสัตว์เลื้อยคลานทั้งหลาย;

ยาวะเทวะ อุตุปะริสสะยะวิโนทะนัง ปะฏิสัลลานารามัตถังฯ
เพียงเพื่อบรรเทาอันตรายอันจะพึงมีจากดินฟ้าอากาศ และเพื่อความเป็นผู้ยินดีอยู่ได้ ในที่หลีกเร้นสำหรับภาวนา;

(พิจารณาขณะฉันเภสัชบริขาร)

ปะฏิสังขา โยนิโส คิลานะปัจจะยะเภสัชชะปะริกขารัง ปะฏิเสวามิ,
เราย่อมพิจารณาโดยแยบคายแล้วบริโภคเภสัชบริขารอันเกื้อกูลแก่คนไข้;

ยาวะเทวะ อุปปันนานัง เวยยาพาธิกานัง เวทะนานัง ปะฏิฆาตายะ,
เพียงเพื่อบำบัดทุกขเวทนาอันบังเกิดขึ้นแล้ว มีอาพาธต่างๆ เป็นมูล;

อัพ๎ยาปัชฌะปะระมะตายาติ ฯ
เพื่อความเป็นผู้ไม่มีโรคเบียดเบียนเป็นอย่างยิ่ง ดังนี้ ฯ

-----------------------



บทสวดทำวัตรเช้า
  ปัตติทานคาถา

(นำ) หันทะ มะยัง ปัตติทานะคาถาโย ภะณามะ เส.

(รับ) ยา เทวตา สันติวิหาระวาสินี,  เทวดาเหล่าใด ที่อยู่ในอาราม,  
ถูเป ฆะเร โพธิฆะเร ตะหิง ตะหิง,  อยู่ในวิหาร เขตโพธิสถาน และเรือนสถูป, ตลอด ณ ที่แห่งนั้น,
ตา ธัมมะทาเนนะ ภะวันตุ ปูชิตา,  เราทั้งหลาย ได้ให้การบูชาแล้วโดยธรรม, ในหมู่แห่งเทพเหล่านั้น
โสตถิง กะโรนเตธะ วิหาระมัณฑะเล,  ขอจงกระทำความปลอดภัยให้เกิดมีในเขตแห่งอารามนี้ด้วย,  

เถรา จะ มัชฌา นะวะกา จะ ภิกขะโว
ขอเหล่าภิกษุทั้งหลาย, ทั้งที่เป็นพระเถระ พระบวชใหม่, พระผู้บวชมานาน พอปานกลาง

สารามิกา ทานะปะตี อุปาสะกา
พร้อมทั้งเหล่าอุบาสก อุบาสิกาผู้ให้ทานทั้งหลาย, ตลอดทั้งบุคคลผู้ประพฤติธรรมที่อาศัยอยู่ในอารามทั้งหมดนี้ด้วย

คามา จะ เทสา นิคะมา จะ อิสสะรา
ขอความสุขจงเกิดมี, แก่มวลมนุษย์และสรรพสัตว์ทั้งหลาย,ที่มีชีวิตอยู่ทุกแว่นแคว้น แดนบ้านและตำบล

สัปปาณะภูตา สุขิตา ภวันตุ เต,  ขอให้จอมชนผู้เป็นใหญ่, ในชุมชนทั้งหลายจงมีความสุขเถิด,
ชะลาพุชา เยปิ จะ อัณฑะสัมภะวา,  อนึ่งสัตว์เหล่าใดที่เกิดในครรภ์, เกิดในไข่, เกิดในเมือกไคล,
สังเสทะชาตา อะถะโวปะปาติกา,  และเกิดผุดขึ้นด้วยแรงแห่งกรรม,
นิยยานิกัง ธัมมะวะรัง ปะฏิจจะ เต,  ขอสัตว์เหล่านั้นทั้งหมด, จงได้อาศัยธรรมอันประเสริฐ,

สัพเพปิ ทุกขัสสะ กะโรนตุ สังขะยัง
เป็นเครื่องนำตนออกจากทุกข์,จงกระทำความสิ้นทุกข์ให้เกิดแก่ตนเถิด

ฐาตุ จิรัง สะตัง ธัมโม,  ขอพระธรรม ของสัตบุรุษ จงดำรงอยู่สิ้นกาลนาน,
ธัมมัทธะรา จะ ปุคคะลา,  ขอบุคคลผู้ทรงไว้ซึ่งพระธรรม, จงมีอายุยืน,
สังโฆ โหตุ สะมัคโค วะ,  ขอพระสงฆ์ จงเป็นผู้พร้อมเพรียงกัน
อัตถายะ จะ หิตายะ จะ,  เพื่อประโยชน์ และความสุขแก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย,

อัมเห รักขะตุ สัทธัมโม สัพเพปิ ธัมมะจาริโน,
ขอพระสัทธรรมจงรักษาพวกเราผู้มีปกติประพฤติธรรมอยู่เป็นนิตย์เถิด,

วุฑฒิง สัมปาปุเณยยามะ, ธัมเม อะริยัปปะเวทิเต,
ขอเราทั้งหลาย พึงถึงพร้อมซึ่งความเจริญในธรรมที่พระอริยเจ้าประกาศไว้ดีแล้ว

ปะสันนา โหนตุ สัพเพปิ ปาณิโน พุทธะสาสะเน
ขอสรรพสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จงเป็นผู้เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา

สัมมา ธารัง ปะเวจฉันโต กาเล เทโว ปะวัสสะตุ
ขอฝนทั้งหลายจงหลั่งลงตกต้องตามฤดูกาล

วุฑฒิภาวายะ สัตตานัง สะมิทธัง เนตุ เมทะนิง
ขอฝนจงนำความสำเร็จมาสู่พื้นปฐพี เพื่อความเจริญแก่สัตว์ทั้งหลาย

มาตา ปิตา จะ อัต๎ระชัง นิจจัง รักขันติ ปุตตะกัง
มารดาและบิดา ย่อมรักษาบุตรที่เกิดในตนเป็นนิจ ฉันใด

เอวัง ธัมเมนะ ราชาโน ปะชัง รักขันตุ สัพพะทา
ขอพระราชาจงปกครองประชาชน โดยชอบธรรม ในกาลทุกเมื่อ ฉันนั้น เทอญ.

-----------------------


บทสวดทำวัตรเช้า
  ปัตติทานคาถา

(นำ) หันทะ มะยัง ปัตติทานะคาถาโย ภะณามะ เส.

(รับ) ยา เทวตา สันติวิหาระวาสินี,  เทวดาเหล่าใด ที่อยู่ในอาราม,  
ถูเป ฆะเร โพธิฆะเร ตะหิง ตะหิง,  อยู่ในวิหาร เขตโพธิสถาน และเรือนสถูป, ตลอด ณ ที่แห่งนั้น,
ตา ธัมมะทาเนนะ ภะวันตุ ปูชิตา,  เราทั้งหลาย ได้ให้การบูชาแล้วโดยธรรม, ในหมู่แห่งเทพเหล่านั้น
โสตถิง กะโรนเตธะ วิหาระมัณฑะเล,  ขอจงกระทำความปลอดภัยให้เกิดมีในเขตแห่งอารามนี้ด้วย,  

เถรา จะ มัชฌา นะวะกา จะ ภิกขะโว
ขอเหล่าภิกษุทั้งหลาย, ทั้งที่เป็นพระเถระ พระบวชใหม่, พระผู้บวชมานาน พอปานกลาง

สารามิกา ทานะปะตี อุปาสะกา
พร้อมทั้งเหล่าอุบาสก อุบาสิกาผู้ให้ทานทั้งหลาย, ตลอดทั้งบุคคลผู้ประพฤติธรรมที่อาศัยอยู่ในอารามทั้งหมดนี้ด้วย

คามา จะ เทสา นิคะมา จะ อิสสะรา
ขอความสุขจงเกิดมี, แก่มวลมนุษย์และสรรพสัตว์ทั้งหลาย,ที่มีชีวิตอยู่ทุกแว่นแคว้น แดนบ้านและตำบล

สัปปาณะภูตา สุขิตา ภวันตุ เต,  ขอให้จอมชนผู้เป็นใหญ่, ในชุมชนทั้งหลายจงมีความสุขเถิด,
ชะลาพุชา เยปิ จะ อัณฑะสัมภะวา,  อนึ่งสัตว์เหล่าใดที่เกิดในครรภ์, เกิดในไข่, เกิดในเมือกไคล,
สังเสทะชาตา อะถะโวปะปาติกา,  และเกิดผุดขึ้นด้วยแรงแห่งกรรม,
นิยยานิกัง ธัมมะวะรัง ปะฏิจจะ เต,  ขอสัตว์เหล่านั้นทั้งหมด, จงได้อาศัยธรรมอันประเสริฐ,
สัพเพปิ ทุกขัสสะ กะโรนตุ สังขะยัง เป็นเครื่องนำตนออกจากทุกข์,จงกระทำความสิ้นทุกข์ให้เกิดแก่ตนเถิด

ฐาตุ จิรัง สะตัง ธัมโม,  ขอพระธรรม ของสัตบุรุษ จงดำรงอยู่สิ้นกาลนาน,
ธัมมัทธะรา จะ ปุคคะลา,  ขอบุคคลผู้ทรงไว้ซึ่งพระธรรม, จงมีอายุยืน,
สังโฆ โหตุ สะมัคโค วะ,  ขอพระสงฆ์ จงเป็นผู้พร้อมเพรียงกัน
อัตถายะ จะ หิตายะ จะ,  เพื่อประโยชน์ และความสุขแก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย,

อัมเห รักขะตุ สัทธัมโม สัพเพปิ ธัมมะจาริโน, ขอพระสัทธรรมจงรักษาพวกเราผู้มีปกติประพฤติธรรมอยู่เป็นนิตย์เถิด,
วุฑฒิง สัมปาปุเณยยามะ, ธัมเม อะริยัปปะเวทิเต, ขอเราทั้งหลาย พึงถึงพร้อมซึ่งความเจริญในธรรมที่พระอริยเจ้าประกาศไว้ดีแล้ว
ปะสันนา โหนตุ สัพเพปิ ปาณิโน พุทธะสาสะเน ขอสรรพสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จงเป็นผู้เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา
สัมมา ธารัง ปะเวจฉันโต กาเล เทโว ปะวัสสะตุ ขอฝนทั้งหลายจงหลั่งลงตกต้องตามฤดูกาล
วุฑฒิภาวายะ สัตตานัง สะมิทธัง เนตุ เมทะนิง ขอฝนจงนำความสำเร็จมาสู่พื้นปฐพี เพื่อความเจริญแก่สัตว์ทั้งหลาย
มาตา ปิตา จะ อัต๎ระชัง นิจจัง รักขันติ ปุตตะกัง มารดาและบิดา ย่อมรักษาบุตรที่เกิดในตนเป็นนิจ ฉันใด
เอวัง ธัมเมนะ ราชาโน ปะชัง รักขันตุ สัพพะทา ขอพระราชาจงปกครองประชาชน โดยชอบธรรม ในกาลทุกเมื่อ ฉันนั้น เทอญ.

-----------------------



บทสวดทำวัตรเช้า
  สัพพปัตติทานคาถา

(นำ) หันทะ มะยัง สัพพะปัตติทานะคาถาโย ภะณามะ เส.

(รับ) ปุญญัสสิทานิ กะตัสสะ ยานัญญานิ กะตานิ เม
เตสัญจะ ภาคิโน โหนตุ สัตตานันตาปปะมาณะกา.

สัตว์ทั้งหลาย ไม่มีที่สุด ไม่มีประมาณ, จงมีส่วนแห่งบุญที่ข้าพเจ้าได้ทำในบัดนี้, และแห่งบุญอื่นที่ได้ทำไว้ก่อนแล้ว,

เย ปิยา คุณะวันตา จะ มัยหัง มาตาปิตาทะโย,  
ทิฏฐา เม จาปะยะทิฏฐา วา อัญเญ มัชฌัตตะเวริโน,

คือจะเป็นสัตว์เหล่าใด, ซึ่งเป็นที่รักใคร่และมีบุญคุณ เช่นมารดาบิดาของข้าพเจ้า เป็นต้นก็ดี, ที่ข้าพเจ้าเห็นแล้วหรือไม่ได้เห็นก็ดี, สัตว์เหล่าอื่นที่เป็นกลางๆ หรือเป็นคู่เวรกัน ก็ดี,

สัตตา ติฏฐันติ โลกัส๎มิง เต ภุมมา จะตุโยนิกา,  
ปัญเจกะจะตุโวการา สังสะรันตา ภะวาภะเว,

สัตว์ทั้งหลาย ตั้งอยู่ในโลก, อยู่ในภูมิทั้ง ๓, อยู่ในกำเนิดทั้ง ๔, มีขันธ์ ๕ ขันธ์, มีขันธ์ขันธ์เดียว, มีขันธ์ ๔ ขันธ์, กำลังท่องเที่ยวอยู่ในภพน้อยภพใหญ่ ก็ดี,

ญาตัง เย ปัตติทานัมเม อะนุโมทันตุ เต สะยัง,
เย จิมัง นัปปะชานันติ  เทวา เตสัง นิเวทะยุง,

สัตว์เหล่าใดรู้ส่วนบุญที่ข้าพเจ้าแผ่ให้แล้ว, สัตว์เหล่านั้น จงอนุโมทนาเองเถิด, ส่วนสัตว์เหล่าใดยังไม่รู้ส่วนบุญนี้,ขอเทวดาทั้งหลายจงบอกสัตว์เหล่านั้นให้รู้.

มะยา ทินนานะ ปุญญานัง อะนุโมทะนะเหตุนา,
สัพเพ สัตตา สะทา โหนตุ  อะเวรา สุขะชีวิโน,
เขมัปปะทัญจะ ปัปโปนตุ เตสาสา สิชฌะตัง สุภา,

เพราะเหตุที่ได้อนุโมทนาส่วนบุญที่ข้าพเจ้าแผ่ให้แล้ว, สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง, จงเป็นผู้ไม่มีเวร, อยู่เป็นสุขทุกเมื่อ, จงถึงบทอันเกษมกล่าวคือพระนิพพาน, ความปรารถนาที่ดีงามของสัตว์เหล่านั้น จงสำเร็จเถิด.

-----------------------



  ปัฏฐนะฐปนะคาถา

(นำ) หันทะ มะยัง ปัฏฐะนะฐะปะนะคาถาโย ภะณามะ เส.
(รับ) ยันทานิ เม กะตัง ปุญญัง เตนาเนนุททิเสนะ จะ,  
ขิปปัง สัจฉิกะเรยยาหัง ธัมเม โลกุตตะเร นะวะ,

บุญใดที่ข้าพเจ้าได้ทำในบัดนี้, เพราะบุญนั้น และการอุทิศแผ่ส่วนบุญนั้น ขอให้ข้าพเจ้าทำให้แจ้งโลกุตตรธรรม ๙ ในทันที,

สะเจ ตาวะ อะภัพโพหัง สังสาเร ปะนะ สังสะรัง,
ถ้าข้าพเจ้าเป็นผู้อาภัพอยู่ ยังต้องท่องเที่ยวไปในวัฏฏสงสาร,

นิยะโต โพธิสัตโตวะ สัมพุทเธนะ วิยากะโต
นาฏฐาระสะปิ อาภัพพะ ฐานานิ ปาปุเณยยะหัง,

ขอให้ข้าพเจ้าเป็นเหมือนโพธิสัตว์ผู้เที่ยงแท้, ได้รับพยากรณ์แต่พระพุทธเจ้าแล้ว, ไม่ถึงฐานะแห่งความอาภัพ ๑๘ อย่าง,

ปัญจะเวรานิ วัชเชยยัง ระเมยยัง สีละรักขะเน,
ปัญจะกาเม อะลัคโคหัง วัชเชยยัง กามะปังกะโต,

ข้าพเจ้าพึงเว้นจากเวรทั้ง ๕, พึงยินดีในการรักษาศีล, ไม่เกาะเกี่ยวในกามคุณทั้ง ๕, พึงเว้นจากเปือกตมกล่าวคือกาม,

ทุททิฏฐิยา นะ ยุชเชยยัง สังยุชเชยยัง สุทิฏฐิยา,
ปาเป มิตเต นะ เสเวยยัง เสเวยยัง ปัณฑิเต สะทา,

ขอให้ข้าพเจ้าไม่พึงประกอบด้วยทิฏฐิชั่ว, พึงประกอบด้วยทิฏฐิที่ดีงาม, ไม่พึงคบมิตรชั่ว, พึงคบแต่บัณฑิตทุกเมื่อ,

สัทธาสะติหิโรตตัปปา-  ตาปักขันติคุณากะโร,  
อัปปะสัย๎โห วะ สัตตูหิ  เหยยัง อะมันทะมุย๎หะโก,

ขอให้ข้าพเจ้าเป็นบ่อที่เกิดแห่งคุณ, คือ ศรัทธา สติ หิริ โอตตัปปะ ความเพียรและขันติ, พึงเป็นผู้ที่ศัตรูครอบงำไม่ได้, ไม่เป็นคนเขลา คนหลงงมงาย,

สัพพายาปายุปาเยสุ เฉโก ธัมมัตถะโกวิโท,
เญยเย วัตตัต๎วะสัชชัง เม ญาณัง อะเฆวะ มาลุโต,

ขอให้ข้าพเจ้าเป็นผู้ฉลาดในอุบายแห่งความเสื่อมและความเจริญ, เป็นผู้เฉียบแหลมในอรรถและธรรม, ขอให้ญาณของข้าพเจ้าเป็นไปไม่ขัดข้องในธรรมที่ควรรู้, ดุจ ลมพัดไปในอากาศ ฉะนั้น,

ยา กาจิ กุสะลา มะยา สา สุเขนะ สิชฌะตัง สะทา,
เอวัง วุตตา คุณา สัพเพ โหนตุ มัยหัง ภะเว ภะเว,

ความปรารถนาใดๆ ของข้าพเจ้าที่เป็นกุศล, ขอให้สำเร็จโดยง่ายทุกเมื่อ, คุณที่ข้าพเจ้ากล่าวมาแล้วทั้งปวงนี้, จงมีแก่ข้าพเจ้าทุกๆ ภพ,

ยะทา อุปปัชชะติ โลเก สัมพุทโธ โมกขะเทสะโก,
ตะทา มุตโต กุกัมเมหิ  ลัทโธกาโส ภะเวยยะหัง,

เมื่อใด, พระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้แสดงธรรมเครื่องพ้นทุกข์ เกิดขึ้นแล้วในโลก, เมื่อนั้น, ขอให้ข้าพเจ้าพ้นจากกรรมอันชั่วช้าทั้งหลาย, เป็นผู้ได้โอกาสแห่งการบรรลุธรรม,

มะนุสสัตตัญจะ ลิงคัญจะ ปัพพัชชัญจุปะสัมปะทัง,
ละภิต๎วา เปสะโล สีลี  ธาเรยยัง สัตถุสาสะนัง,

ขอให้ข้าพเจ้าพึงได้ความเป็นมนุษย์, ได้เพศบริสุทธิ์, ได้บรรพชาอุปสมบทแล้ว, เป็นคนรักศีล, มีศีล, ทรงไว้ซึ่งพระศาสนาของพระศาสดา

สุขาปะฏิปะโท ขิปปา- ภิญโญ สัจฉิกะเรยยะหัง,
อะระหัตตัปผะลัง อัคคัง วิชชาทิคุณะลังกะตัง,

ขอให้เป็นผู้มีการปฏิบัติโดยสะดวก, ตรัสรู้ได้พลัน, การกระทำให้แจ้งซึ่งอรหัตตผลอันเลิศ, อันประดับด้วยธรรมมีวิชชาเป็นต้น,

ยะทิ นุปปัชชะติ พุทโธ กัมมัง ปะริปูรัญจะ เม,
เอวัง สันเต ละเภยยาหัง  ปัจเจกะโพธิมุตตะมันติ,

ถ้าหากพระพุทธเจ้าไม่บังเกิดขึ้น, แต่กุศลกรรมของข้าพเจ้าเต็มเปี่ยมแล้ว, เมื่อเป็นเช่นนั้น, ขอให้ข้าพเจ้าพึงได้ญาณเป็นเครื่องรู้เฉพาะตนอันสูงสุดเทอญ.



วันทาตอนเช้า
  วันทามิ พุทธัง ภะวะปาระติณณัง

ติโลกะเกตุง ติภะเวกะนาถัง

โย โลกะเสฏโฐ สะกะลัง กิเลสัง

เฉต๎วานะ โพเธสิ ชะนัง อะนันตัง ฯ

ยัง นัมมะทายะ นะทิยา ปุลิเน จะ ตีเร

ยัง สัจจะพันธะคิริเก สุมะนาจะลัคเค

ยัง ตัตถะ โยนะกะปุเร มุนิโน จะ ปาทัง

ตัง ปาทะลัญชะนะมะหัง สิระสา นะมามิ ฯ

สุวัณณะมาลิเก สุวัณณะปัพพะเต

สุมะนะกูเฏ โยนะกะปุเร นัมมะทายะ นะทิยา

ปัญจะปาทะวะรัง ฐานัง อะหัง วันทามิ ทูระโต ฯ

อิจเจวะมัจจันตะนะมัสสะเนยยัง

นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง

ปุญญาภิสันทัง วิปุลัง อะลัตถัง

ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย ฯ

อามันตะยามิ โว ภิกขะเว ปะฏิเวทะยามิ โว ภิกขะเว

ขะยะวะยะธัมมา สังขารา อัปปะมาเทนะ สัมปาเทถาติ ฯ

-----------------------


ที่มา .watpitch.com
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 10 สิงหาคม 2561 14:48:42 โดย Maintenence » บันทึกการเข้า

[• สุขใจ บำรุงรักษาระบบ •]
Maintenence
ผู้ดูแลระบบ
นักโพสท์ระดับ 10
*

คะแนนความดี: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
Thailand Thailand

กระทู้: 1117


[• บำรุงรักษา •]

ระบบปฏิบัติการ:
Windows 7/Server 2008 R2 Windows 7/Server 2008 R2
เวบเบราเซอร์:
Chrome 65.0.3325.181 Chrome 65.0.3325.181


ดูรายละเอียด
« ตอบ #6 เมื่อ: 23 มีนาคม 2561 14:05:55 »




บทสวดทำวัตรเย็น
  คำบูชาพระรัตนตรัย

โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ,
พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น พระองค์ใด, เป็นพระอรหันต์, ดับเพลิงกิเลส เพลิงทุกข์สิ้นเชิง, ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง;

ส๎วากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม,
พระธรรม เป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ใด, ตรัสไว้ดีแล้ว;

สุปะฎิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
พระสงฆ์สาวก ของพระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ใด, ปฏิบัติดีแล้ว;

ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง, อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ,
ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ขอบูชาอย่างยิ่งซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น, พร้อมทั้งพระธรรมและพระสงฆ์, ด้วยเครื่องสักการะทั้งหลายเหล่านี้, อันยกขึ้นตามสมควรแล้วอย่างไร;

สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ,
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ, พระผู้มีพระภาคเจ้าแม้ปรินิพพานนานแล้ว ทรงสร้างคุณอันสำเร็จประโยชน์ไว้แก่พวกข้าพเจ้าทั้งหลาย;

ปัจฉิมาชะนะตานุกัมปะมานะสา,
ทรงมีพระหฤทัยอนุเคราะห์แก่พวกข้าพเจ้า, อันเป็นชนรุ่นหลัง;

อิเม สักกาเร ทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณ๎หาตุ,
ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าจงรับเครื่องสักการะ, อันเป็นบรรณาการของคนยากทั้งหลายเหล่านี้;

อัม๎หากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ,
เพื่อประโยชน์และความสุขแก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ตลอดกาลนาน เทอญฯ

-----------------------

  คำนมัสการพระรัตนตรัย

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา,
พระผู้มีพระภาคเจ้า, เป็นพระอรหันต์, ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์สิ้นเชิง, ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง;

พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ.
ข้าพเจ้าอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า, ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน; (กราบ)

ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
พระธรรมเป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้า, ตรัสไว้ดีแล้ว;

ธัมมัง นะมัสสามิ.
ข้าพเจ้านมัสการพระธรรม; (กราบ)

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า, ปฏิบัติดีแล้ว;

สังฆัง นะมามิ.
ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์; (กราบ)

-----------------------

  ปุพพภาคะนมะการ

(นำ) หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัญเจวะ พุทธานุสสะตินะยัญจะ กะโรมะ เส.

(บางแห่งนำว่า) ยะมัม๎หะ โข มะยัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะตา อะระหันตัง สัมมาสัมพุทธัง, ยัง ภะคะวันตัง อุททิสสะ ปัพพะชิตา, ยัส๎มึ ภะคะวะติ พรัห๎มะจะริยัง จะรามะ, ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ สักกาเรหิ อะภิปูชะยิต๎วา อะภิวาทะนัง กะริม๎หา, หันทะทานิ มะยัง ตัง ภะคะวันตัง วาจายะ อะภิคายิตุง, ปุพพะ-ภาคะนะมะการัญเจวะ พุทธานุสสะตินะยัญจะ กะโรมะ เสฯ

(รับ) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น
อะระหะโต ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส
สัมมาสัมพุทธัสสะ ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น
อะระหะโต ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส
สัมมาสัมพุทธัสสะ ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น
อะระหะโต ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส
สัมมาสัมพุทธัสสะ ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง

-----------------------



บทสวดทำวัตรเย็น

  พุทธานุสสติ

ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง เอวัง กัล๎ยาโณ กิตติสัทโท อัพภุคคะโต  ก็กิตติศัพท์อันงามของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น,ได้ฟุ้งไปแล้วอย่างนี้ว่า
อิติปิ โส ภะคะวา เพราะเหตุอย่างนี้ ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น
อะระหัง เป็นผู้ไกลจากกิเลส
สัมมาสัมพุทโธ เป็นผู้ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
วิชชาจะระณะสัมปันโน เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ
สุคะโต เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี
โลกะวิทู เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า
สัตถา เทวะมะนุสสานัง เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
พุทโธ เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้วยธรรม
ภะคะวาติ เป็นผู้มีความจำเริญ จำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์ ดังนี้.
-----------------------



  พุทธาภิคีติ

(นำ) หันทะ มะยัง พุทธาภิคีติง กะโรมะ เส.

(รับ) พุทธะวาระหันตะวะระตาทิคุณาภิยุตโต,
พระพุทธเจ้าประกอบด้วยคุณ มีความประเสริฐแห่งอรหันตคุณ เป็นต้น;

สุทธาภิญาณะกะรุณาหิ สะมาคะตัตโต,
มีพระองค์อันประกอบด้วยพระญาณ และพระกรุณาอันบริสุทธิ์;

โพเธสิ โย สุชะนะตัง กะมะลังวะ สูโร,
พระองค์ใด ทรงกระทำชนที่ดีให้เบิกบาน ดุจอาทิตย์ทำบัวให้บาน;

วันทามะหัง ตะมะระณัง สิระสา ชิเนนทัง,
ข้าพเจ้าไหว้พระชินสีห์ ผู้ไม่มีกิเลสพระองค์นั้น ด้วยเศียรเกล้า;

พุทโธ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง,
พระพุทธเจ้าพระองค์ใด เป็นสรณะอันเกษมสูงสุดของสัตว์ทั้งหลาย;

ปะฐะมานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง,
ข้าพเจ้าไหว้พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น, อันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึกองค์ที่หนึ่ง ด้วยเศียรเกล้า;

พุทธัสสาหัส๎มิ ทาโส (ญ. ทาสี) วะ พุทโธ เม สามิกิสสะโร,
ข้าพเจ้าเป็นทาสของพระพุทธเจ้า, พระพุทธเจ้าเป็นนาย มีอิสระเหนือข้าพเจ้า;

พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม,
พระพุทธเจ้าเป็นเครื่องกำจัดทุกข์ และทรงไว้ซึ่งประโยชน์แก่ข้าพเจ้า;

พุทธัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง,
ข้าพเจ้ามอบกายถวายชีวิตนี้แด่พระพุทธเจ้า;

วันทันโตหัง (ญ. วันทันตีหัง) จะริสสามิ พุทธัสเสวะ สุโพธิตัง,
ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่จักประพฤติตาม, ซึ่งความตรัสรู้ดีของพระพุทธเจ้า;

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง,
สรณะอื่นของข้าพเจ้าไม่มี, พระพุทธเจ้าเป็นสรณะอันประเสริฐของข้าพเจ้า;

เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน,
ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้, ข้าพเจ้าพึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา;

พุทธัง เม วันทะมาเนนะ (ญ. วันทะมานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ,
ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่ซึ่งพระพุทธเจ้า, ได้ขวนขวายบุญใดในบัดนี้;

สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา,
อันตรายทั้งปวงอย่าได้มีแก่ข้าพเจ้า, ด้วยเดชแห่งบุญนั้น;

(กราบหมอบลงว่า)

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,
ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี;

พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง,
กรรมน่าติเตียนอันใด ที่ข้าพเจ้ากระทำแล้วในพระพุทธเจ้า;

พุทโธ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง,
ขอพระพุทธเจ้าจงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น;

กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ,
เพื่อการสำรวมระวังในพระพุทธเจ้าในกาลต่อไป,

-----------------------



  ธัมมานุสสติ

(นำ) หันทะ มะยัง ธัมมานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.

(รับ) ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
   
พระธรรมเป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสไว้ดีแล้ว

สันทิฏฐิโก   
เป็นธรรมที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติพึงเห็นได้ด้วยตนเอง

อะกาลิโก   
เป็นธรรมที่ปฏิบัติได้และให้ผลได้ไม่จำกัดกาล

เอหิปัสสิโก   
เป็นธรรมที่ควรกล่าวกะผู้อื่นว่า ท่านจงมาดูเถิด

โอปะนะยิโก   
เป็นธรรมที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว

ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ   
เป็นธรรมที่ผู้รู้ก็รู้ได้เฉพาะตน ดังนี้.
-----------------------



  ธัมมาภิคีติ

(นำ) หันทะ มะยัง ธัมมาภิคีติง กะโรมะ เส.

(รับ) ส๎วากขาตะตาทิคุณะโยคะวะเสนะ เสยโย,
พระธรรม เป็นธรรมที่ประเสริฐเพราะประกอบด้วยคุณ คือความที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้วเป็นต้น;

โย มัคคะปากะปะริยัตติวิโมกขะเภโท,
เป็นธรรมอันจำแนกเป็นมรรค ผล ปริยัติและนิพพาน;

ธัมโม กุโลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี,
เป็นธรรมทรงไว้ซึ่งผู้ทรงธรรม จากการตกไปสู่โลกที่ชั่ว;

วันทามะหัง ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง,
ข้าพเจ้าไหว้พระธรรมอันประเสริฐนั้น อันเป็นเครื่องขจัดเสียซึ่งความมืด;

ธัมโม โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง,
พระธรรมใด เป็นสรณะอันเกษมสูงสุดของสัตว์ทั้งหลาย;

ทุติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง,
ข้าพเจ้าไหว้พระธรรมนั้น, อันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึกองค์ที่สอง ด้วยเศียรเกล้า;

ธัมมัสสาหัส๎มิ ทาโส (ญ. ทาสี) วะ ธัมโม เม สามิกิสสะโร,
ข้าพเจ้าเป็นทาสของพระธรรม, พระธรรมเป็นนายมีอิสระเหนือข้าพเจ้า;

ธัมโม ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม,
พระธรรมเป็นเครื่องกำจัดทุกข์, และทรงไว้ซึ่งประโยชน์แก่ข้าพเจ้า;

ธัมมัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง,
ข้าพเจ้ามอบกายถวายชีวิตนี้แด่พระธรรม;

วันทันโตหัง (ญ. วันทันตีหัง) จะริสสามิ ธัมมัสเสวะ สุธัมมะตัง,
ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่จักประพฤติตาม, ซึ่งความเป็นธรรมดีของพระธรรม;

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง,
สรณะอื่นของข้าพเจ้าไม่มี,พระธรรมเป็นสรณะอันประเสริฐของข้าพเจ้า;

เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน,
ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้, ข้าพเจ้าพึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา;

ธัมมัง เม วันทะมาเนนะ (ญ. วันทะมานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ,
ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่ซึ่งพระธรรม, ได้ขวนขวายบุญใดในบัดนี้;

สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา,
อันตรายทั้งปวงอย่าได้มีแก่ข้าพเจ้า, ด้วยเดชแห่งบุญนั้น;

(กราบหมอบลงว่า)

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,

ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี;

ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง,
กรรมน่าติเตียนอันใด ที่ข้าพเจ้ากระทำแล้วในพระธรรม;

ธัมโม ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง,
ขอพระธรรมจงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น;

กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม,
เพื่อการสำรวมระวังในพระธรรมในกาลต่อไป.
-----------------------




  สังฆานุสสติ

(นำ) หันทะ มะยัง สังฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.

(รับ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติดีแล้ว;

อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติตรงแล้ว;

ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติเพื่อรู้ธรรมเป็นเครื่องออกจากทุกข์แล้ว;

สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติสมควรแล้ว;

ยะทิทัง,  ได้แก่บุคคลเหล่านี้คือ

จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา คู่แห่งบุรุษสี่คู่, นับเรียงตัวบุรุษได้แปดบุรุษ;

เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,  นั่นแหละ สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า;

อาหุเนยโย,  เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขานำมาบูชา;

ปาหุเนยโย,  เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขาจัดไว้ต้อนรับ;

ทักขิเณยโย,  เป็นผู้ควรรับทักษิณาทาน;

อัญชะลิกะระณีโย,  เป็นผู้ที่บุคคลทั่วไปควรทำอัญชลี;  

อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ,  เป็นเนื้อนาบุญของโลกไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ดังนี้.


-----------------------

  สังฆาภิคีติ

(นำ) หันทะ มะยัง สังฆาภิคีติง กะโรมะ เส.

(รับ) สัทธัมมะโช สุปะฏิปัตติคุณาทิยุตโต,

พระสงฆ์ที่เกิดโดยพระสัทธรรม ประกอบด้วยคุณมีความปฏิบัติดีเป็นต้น;

โยฎฐัพพิโธ อะริยะปุคคะละสังฆะเสฏโฐ,
เป็นหมู่แห่งพระอริยบุคคลอันประเสริฐแปดจำพวก;

สีลาทิธัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต,
มีกายและจิตอันอาศัยธรรมมีศีลเป็นต้น อันบวร;

วันทามะหัง ตะมะริยานะคะณัง สุสุทธัง,
ข้าพเจ้าไหว้หมู่แห่งพระอริยเจ้าเหล่านั้น อันบริสุทธิ์ด้วยดี;

สังโฆ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง,
พระสงฆ์หมู่ใด เป็นสรณะอันเกษมสูงสุดของสัตว์ทั้งหลาย;

ตะติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง,
ข้าพเจ้าไหว้พระสงฆ์หมู่นั้น อันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึกองค์ที่สาม ด้วยเศียรเกล้า;

สังฆัสสาหัส๎มิ ทาโส (ญ. ทาสี) วะ สังโฆ เม สามิกิสสะโร,
ข้าพเจ้าเป็นทาสของพระสงฆ์ พระสงฆ์เป็นนายมีอิสระเหนือข้าพเจ้า;

สังโฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม,
พระสงฆ์เป็นเครื่องกำจัดทุกข์และทรงไว้ซึ่งประโยชน์แก่ข้าพเจ้า;

สังฆัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง,
ข้าพเจ้ามอบกายถวายชีวิตนี้ แด่พระสงฆ์;

วันทันโตหัง (ญ. วันทันตีหัง) จะริสสามิ สังฆัสโสปะฏิปันนะตัง,
ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่จักประพฤติตาม ซึ่งความปฏิบัติดีของพระสงฆ์;

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง,
สรณะอื่นของข้าพเจ้าไม่มี พระสงฆ์เป็นสรณะอันประเสริฐของข้าพเจ้า;

เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน,
ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้ ข้าพเจ้าพึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา;

สังฆัง เม วันทะมาเนนะ (ญ. วันทะมานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ,
ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่ซึ่งพระสงฆ์ ได้ขวนขวายบุญใด ในบัดนี้;

สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา,
อันตรายทั้งปวงอย่าได้มีแก่ข้าพเจ้า ด้วยเดชแห่งบุญนั้น;

(กราบหมอบลงว่า)

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,
ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี;

สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง,
กรรมน่าติเตียนอันใด ที่ข้าพเจ้ากระทำแล้วในพระสงฆ์;

สังโฆ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง,
ขอพระสงฆ์จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น;

กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ,
เพื่อการสำรวมระวังในพระสงฆ์ในกาลต่อไป.

-----------------------



ที่มา .watpitch.com
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 10 สิงหาคม 2561 14:46:30 โดย Maintenence » บันทึกการเข้า

[• สุขใจ บำรุงรักษาระบบ •]
Maintenence
ผู้ดูแลระบบ
นักโพสท์ระดับ 10
*

คะแนนความดี: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
Thailand Thailand

กระทู้: 1117


[• บำรุงรักษา •]

ระบบปฏิบัติการ:
Windows 7/Server 2008 R2 Windows 7/Server 2008 R2
เวบเบราเซอร์:
Chrome 67.0.3396.99 Chrome 67.0.3396.99


ดูรายละเอียด
« ตอบ #7 เมื่อ: 05 กรกฎาคม 2561 13:22:46 »

http://i19.photobucket.com/albums/b177/yodnapa/4Blog/1165373709.jpg
บทสวด ทำวัตรสวดมนต์


บทสวดทำวัตรเย็น

  ธัมมานุสสติ

(นำ) หันทะ มะยัง ธัมมานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.

(รับ) ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม พระธรรมเป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสไว้ดีแล้ว

สันทิฏฐิโก    เป็นธรรมที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติพึงเห็นได้ด้วยตนเอง
อะกาลิโก    เป็นธรรมที่ปฏิบัติได้และให้ผลได้ไม่จำกัดกาล
เอหิปัสสิโก    เป็นธรรมที่ควรกล่าวกะผู้อื่นว่า ท่านจงมาดูเถิด
โอปะนะยิโก    เป็นธรรมที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว
ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ    เป็นธรรมที่ผู้รู้ก็รู้ได้เฉพาะตน ดังนี้

-----------------------

  ธัมมาภิคีติ

(นำ) หันทะ มะยัง ธัมมาภิคีติง กะโรมะ เส.

(รับ) ส๎วากขาตะตาทิคุณะโยคะวะเสนะ เสยโย,
พระธรรม เป็นธรรมที่ประเสริฐเพราะประกอบด้วยคุณ คือความที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้วเป็นต้น;

โย มัคคะปากะปะริยัตติวิโมกขะเภโท,
เป็นธรรมอันจำแนกเป็นมรรค ผล ปริยัติและนิพพาน;

ธัมโม กุโลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี,
เป็นธรรมทรงไว้ซึ่งผู้ทรงธรรม จากการตกไปสู่โลกที่ชั่ว;

วันทามะหัง ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง,
ข้าพเจ้าไหว้พระธรรมอันประเสริฐนั้น อันเป็นเครื่องขจัดเสียซึ่งความมืด;

ธัมโม โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง,
พระธรรมใด เป็นสรณะอันเกษมสูงสุดของสัตว์ทั้งหลาย;

ทุติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง,
ข้าพเจ้าไหว้พระธรรมนั้น, อันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึกองค์ที่สอง ด้วยเศียรเกล้า;

ธัมมัสสาหัส๎มิ ทาโส (ญ. ทาสี) วะ ธัมโม เม สามิกิสสะโร,
ข้าพเจ้าเป็นทาสของพระธรรม, พระธรรมเป็นนายมีอิสระเหนือข้าพเจ้า;

ธัมโม ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม,
พระธรรมเป็นเครื่องกำจัดทุกข์, และทรงไว้ซึ่งประโยชน์แก่ข้าพเจ้า;

ธัมมัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง,
ข้าพเจ้ามอบกายถวายชีวิตนี้แด่พระธรรม;

วันทันโตหัง (ญ. วันทันตีหัง) จะริสสามิ ธัมมัสเสวะ สุธัมมะตัง,
ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่จักประพฤติตาม, ซึ่งความเป็นธรรมดีของพระธรรม;

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง,
สรณะอื่นของข้าพเจ้าไม่มี,พระธรรมเป็นสรณะอันประเสริฐของข้าพเจ้า;

เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน,
ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้, ข้าพเจ้าพึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา;

ธัมมัง เม วันทะมาเนนะ (ญ. วันทะมานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ,
ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่ซึ่งพระธรรม, ได้ขวนขวายบุญใดในบัดนี้;

สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา,
อันตรายทั้งปวงอย่าได้มีแก่ข้าพเจ้า, ด้วยเดชแห่งบุญนั้น;

       (กราบหมอบลงว่า)

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,
ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี;

ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง,
กรรมน่าติเตียนอันใด ที่ข้าพเจ้ากระทำแล้วในพระธรรม;

ธัมโม ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง,
ขอพระธรรมจงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น;

กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม,
เพื่อการสำรวมระวังในพระธรรมในกาลต่อไป.


-----------------------

บทสวดทำวัตรเย็น

  สังฆานุสสติ

(นำ) หันทะ มะยัง สังฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.

(รับ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติดีแล้ว;

อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติตรงแล้ว;

ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติเพื่อรู้ธรรมเป็นเครื่องออกจากทุกข์แล้ว;

สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติสมควรแล้ว;

ยะทิทัง,     ได้แก่บุคคลเหล่านี้คือ
จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา    คู่แห่งบุรุษสี่คู่, นับเรียงตัวบุรุษได้แปดบุรุษ;
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,     นั่นแหละ สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า;
อาหุเนยโย,     เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขานำมาบูชา;
ปาหุเนยโย,     เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขาจัดไว้ต้อนรับ;
ทักขิเณยโย,     เป็นผู้ควรรับทักษิณาทาน;
อัญชะลิกะระณีโย,     เป็นผู้ที่บุคคลทั่วไปควรทำอัญชลี;  
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ,     เป็นเนื้อนาบุญของโลกไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ดังนี้.

-----------------------


  สังฆาภิคีติ

(นำ) หันทะ มะยัง สังฆาภิคีติง กะโรมะ เส.

(รับ) สัทธัมมะโช สุปะฏิปัตติคุณาทิยุตโต,
พระสงฆ์ที่เกิดโดยพระสัทธรรม ประกอบด้วยคุณมีความปฏิบัติดีเป็นต้น;

โยฎฐัพพิโธ อะริยะปุคคะละสังฆะเสฏโฐ,
เป็นหมู่แห่งพระอริยบุคคลอันประเสริฐแปดจำพวก;

สีลาทิธัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต,
มีกายและจิตอันอาศัยธรรมมีศีลเป็นต้น อันบวร;

วันทามะหัง ตะมะริยานะคะณัง สุสุทธัง,
ข้าพเจ้าไหว้หมู่แห่งพระอริยเจ้าเหล่านั้น อันบริสุทธิ์ด้วยดี;

สังโฆ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง,
พระสงฆ์หมู่ใด เป็นสรณะอันเกษมสูงสุดของสัตว์ทั้งหลาย;

ตะติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง,
ข้าพเจ้าไหว้พระสงฆ์หมู่นั้น อันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึกองค์ที่สาม ด้วยเศียรเกล้า;

สังฆัสสาหัส๎มิ ทาโส (ญ. ทาสี) วะ สังโฆ เม สามิกิสสะโร,
ข้าพเจ้าเป็นทาสของพระสงฆ์ พระสงฆ์เป็นนายมีอิสระเหนือข้าพเจ้า;

สังโฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม,
พระสงฆ์เป็นเครื่องกำจัดทุกข์และทรงไว้ซึ่งประโยชน์แก่ข้าพเจ้า;

สังฆัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง,
ข้าพเจ้ามอบกายถวายชีวิตนี้ แด่พระสงฆ์;

วันทันโตหัง (ญ. วันทันตีหัง) จะริสสามิ สังฆัสโสปะฏิปันนะตัง,
ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่จักประพฤติตาม ซึ่งความปฏิบัติดีของพระสงฆ์;

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง,
สรณะอื่นของข้าพเจ้าไม่มี พระสงฆ์เป็นสรณะอันประเสริฐของข้าพเจ้า;

เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน,
ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้ ข้าพเจ้าพึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา;

สังฆัง เม วันทะมาเนนะ (ญ. วันทะมานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ,
ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่ซึ่งพระสงฆ์ ได้ขวนขวายบุญใด ในบัดนี้;

สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา,
อันตรายทั้งปวงอย่าได้มีแก่ข้าพเจ้า ด้วยเดชแห่งบุญนั้น;

       (กราบหมอบลงว่า)

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,
ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี;

สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง,
กรรมน่าติเตียนอันใด ที่ข้าพเจ้ากระทำแล้วในพระสงฆ์;

สังโฆ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง,
ขอพระสงฆ์จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น;

กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ,
เพื่อการสำรวมระวังในพระสงฆ์ในกาลต่อไป.


ที่มา .watpitch.com
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 10 สิงหาคม 2561 14:49:18 โดย Maintenence » บันทึกการเข้า

[• สุขใจ บำรุงรักษาระบบ •]
Maintenence
ผู้ดูแลระบบ
นักโพสท์ระดับ 10
*

คะแนนความดี: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
Thailand Thailand

กระทู้: 1117


[• บำรุงรักษา •]

ระบบปฏิบัติการ:
Windows 7/Server 2008 R2 Windows 7/Server 2008 R2
เวบเบราเซอร์:
Chrome 67.0.3396.99 Chrome 67.0.3396.99


ดูรายละเอียด
« ตอบ #8 เมื่อ: 13 กรกฎาคม 2561 10:07:23 »

http://i19.photobucket.com/albums/b177/yodnapa/4Blog/1165373709.jpg
บทสวด ทำวัตรสวดมนต์


บทสวดทำวัตรเย็น
  อตีตปัจจเวกขณปาฐะ

(นำ) หันทะ มะยัง อะตีตะปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส.
(พิจารณาภายหลังการใช้สอยจีวร)

(รับ) อัชชะ มะยา อะปัจจะเวกขิต๎วา ยัง จีวะรัง ปะริภุตตัง,
จีวรใดอันเรานุ่งห่มแล้ว ไม่ทันพิจารณาในวันนี้;

ตัง ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ จีวรนั้นเรานุ่งห่มแล้ว เพียงเพื่อบำบัดความหนาว
อุณ๎หัสสะ ปะฏิฆาตายะ เพื่อบำบัดความร้อน

ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ,
เพื่อบำบัดสัมผัสอันเกิดจากเหลือบ ยุง ลม แดด และสัตว์เลื้อยคลานทั้งหลาย;

ยาวะเทวะ หิริโกปินะปะฏิจฉาทะนัตถัง,
และเพียงเพื่อปกปิดอวัยวะอันให้เกิดความละอาย;

          (พิจารณาภายหลังการฉันบิณฑบาต)
อัชชะ มะยา อะปัจจะเวกขิต๎วา โย ปิณฑะปาโต ปะริภุตโต,
บิณฑบาตใดอันเราฉันแล้ว ไม่ทันพิจารณาในวันนี้;

โส เนวะ ทะวายะ,  บิณฑบาตนั้นเราฉันแล้ว ไม่ใช่เป็นไปเพื่อความเพลิดเพลินสนุกสนาน;  
นะ มะทายะ,  ไม่ใช่เป็นไปเพื่อความเมามัน เกิดกำลังพลังทางกาย;
นะ มัณฑะนายะ,  ไม่ใช่เป็นไปเพื่อประดับ;
นะ วิภูสะนายะ,  ไม่ใช่เป็นไปเพื่อตกแต่ง;  
ยาวะเทวะ อิมัสสะ กายัสสะ ฐิติยา,  แต่ให้เป็นไปเพียงเพื่อความตั้งอยู่ได้แห่งกายนี้;
ยาปะนายะ,  เพื่อความเป็นไปได้ของอัตภาพ;  
วิหิงสุปะระติยา,  เพื่อความสิ้นไปแห่งความลำบากทางกาย;  
พรัห๎มะจะริยานุคคะหายะ,  เพื่ออนุเคราะห์แก่การประพฤติพรหมจรรย์;  
อิติ ปุราณัญจะ เวทะนัง ปะฏิหังขามิ,  ด้วยการทำอย่างนี้ เราย่อมระงับเสียได้ซึ่งทุกขเวทนาเก่าคือความหิว;
นะวัญจะ เวทะนัง นะ อุปปาเทสสามิ,  และไม่ทำทุกขเวทนาใหม่ให้เกิดขึ้น;

ยาต๎รา จะ เม ภะวิสสะติ อะนะวัชชะตา จะ ผาสุวิหาโร จาติ,
อนึ่ง ความเป็นไปโดยสะดวกแห่งอัตภาพนี้ด้วย ความเป็นผู้หาโทษมิได้ด้วย และความเป็นอยู่โดยผาสุกด้วย จักมีแก่เรา ดังนี้.

          (พิจารณาภายหลังการใช้สอยเสนาสนะ)
อัชชะ มะยา อะปัจจะเวกขิต๎วา ยัง เสนาสะนัง ปะริภุตตัง,
เสนาสนะใดอันเราใช้สอยแล้ว ไม่ทันพิจารณาในวันนี้;

ตัง ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ เสนาสนะนั้น เราใช้สอยแล้ว เพียงเพื่อบำบัดความหนาว
อุณ๎หัสสะ ปะฏิฆาตายะ เพื่อบำบัดความร้อน

ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ,
เพื่อบำบัดสัมผัสอันเกิดจากเหลือบ ยุง ลม แดด และสัตว์เลื้อยคลานทั้งหลาย;

ยาวะเทวะ อุตุปะริสสะยะวิโนทะนัง ปะฏิสัลลานารามัตถัง,
เพียงเพื่อบรรเทาอันตรายอันจะพึงมีจากดินฟ้าอากาศ และเพื่อความเป็นผู้ยินดีอยู่ได้ในที่หลีกเร้นสำหรับภาวนา.


          (พิจารณาภายหลังบริโภคคิลานเภสัช)
อัชชะ มะยา อะปัจจะเวกขิต๎วา โย คิลานะปัจจะยะเภสัชชะปะริกขาโร ปะริภุตโต,
คิลานเภสัชบริขารใด อันเราบริโภคแล้ว ไม่ทันพิจารณาในวันนี้;

โส ยาวะเทวะ อุปปันนานัง เวยยาพาธิกานัง เวทะนานัง ปะฏิฆาตายะ,
คิลานเภสัชบริขารนั้น เราบริโภคแล้ว เพียงเพื่อบำบัดทุกขเวทนาอันบังเกิดขึ้นแล้วมีอาพาธต่างๆ เป็นมูล;

อัพ๎ยาปัชฌะปะระมะตายาติ ฯ
เพื่อความเป็นผู้ไม่มีโรคเบียดเบียนเป็นอย่างยิ่ง ดังนี้ ฯ

-----------------------



บทสวดทำวัตรเย็น
  อภิณหะปัจจเวกขณะปาฐะ

หันทะ มะยัง อะภิณ๎หะปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส)

ชะราธัมโมม๎หิ ชะรัง อะนะตีโต,
(. อะนะตีตา)
เรามีความแก่เป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้;

พ๎ยาธิธัมโมม๎หิ พ๎ยาธิง อะนะตีโต, (. อะนะตีตา)
เรามีความเจ็บเป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความเจ็บไปได้;

มะระณะธัมโมม๎หิ มะระณัง อะนะตีโต, (
ญ. อะนะตีตา)
เรามีความตายเป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความตายไปได้;

สัพเพหิ เม ปิเยหิ มะนาเปหิ นานาภาโว วินาภาโว,
เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งหลายทั้งสิ้น ไม่ล่วงพ้นไปได้;

กัมมัสสะโกม๎หิ, (ญ. กัมมัสสะกาม๎หิ)  เรามีกรรมเป็นสมบัติของตน;  
กัมมะทายาโท, (. กัมมะทายาทา)  เราจะต้องได้รับมรดกของกรรมทุกอย่าง;  
กัมมะโยนิ,  เรามีกรรมเป็นเครื่องก่อให้เกิด;
กัมมะพันธุ,  เรามีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์;
กัมมะปะฏิสะระโณ, (ญ.กัมมะปะฏิสะระณา) เรามีกรรมเป็นที่พึ่ง;
ยัง กัมมัง กะริสสามิ, เราจักกระทำกรรมใดไว้;  
กัล๎ยาณัง วา ปาปะกัง วา,  ดีก็ตาม ชั่วก็ตาม;  
ตัสสะ ทายาโท (.ทายาทา) ภะวิสสามิ,  เราจักต้องได้รับผลของกรรมนั้นสืบไป;  
เอวัง อัมเหหิ อะภิณ๎หัง ปัจจะเวกขิตัพพัง,  เราทั้งหลายควรพิจารณาเนืองๆ อย่างนี้ ทุกวันๆ เถิด ฯ

-----------------------



บทสวดทำวัตรเย็น
  อุททิสนาธิฏฐานะคาถา

(นำ) หันทะ มะยัง อุททิสะนาธิฏฐานะคาถาโย ภะณามะ เส.

บทที่ ๑

(รับ) อิมินา ปุญญะกัมเมนะ  ด้วยบุญนี้อุทิศให้  
อุปัชฌายา คุณุตตะรา  อุปัชฌาย์ผู้เลิศคุณ  
อาจะริยูปะการา จะ  แลอาจารย์ผู้เกื้อหนุน  
มาตา ปิตา จะ ญาตะกา(ปิยา มะมัง)  ทั้งพ่อแม่ แลปวงญาติ  
สุริโย จันทิมา ราชา  สูรย์จันทร์แลราชา  
คุณะวันตา นะราปิ จะ  ผู้ทรงคุณ หรือสูงชาติ  
พรัห๎มะมารา จะ อินทา จะ  พรหม มาร และอินทราช  
โลกะปาลา จะ เทวะตา  ทั้งทวยเทพ และโลกบาล  
ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ  ยมราช มนุษย์มิตร  
มัชฌัตตา เวริกาปิ จะ  ผู้เป็นกลาง ผู้จองผลาญ  
สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ  ขอให้เป็นสุขศานติ์ ทุกทั่วหน้าอย่าทุกข์ทน  
ปุญญานิ ปะกะตานิ เม  บุญผองที่ข้าทำ จงช่วยอำนวยศุภผล  
สุขัง จะ ติวิธัง เทนตุ ให้สุข สามอย่างล้น  
ขิปปัง ปาเปถะ โว มะตัง  ให้ลุถึงนิพพานพลัน  

บทที่ ๒
อิมินา ปุญญะกัมเมนะ  ด้วยบุญนี้ที่เราทำ  
อิมินา อุททิเสนะ จะ  แลอุทิศให้ปวงสัตว์  
ขิปปาหัง สุละเภ เจวะ  เราพลันได้ซึ่งการตัด  
ตัณหุปาทานะเฉทะนัง  ตัวตัณหา อุปาทาน  
เย สันตาเน หินา ธัมมา  สิ่งชั่ว ในดวงใจ  
ยาวะ นิพพานะโต มะมัง  กว่าเราจะถึงนิพพาน  
นัสสันตุ สัพพะทาเยวะ  มลายสิ้น จากสันดาน  
ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว  ทุก ๆ ภพ ที่เราเกิด  
อุชุจิตตัง สะติปัญญา  มีจิตตรง และสติทั้งปัญญาอันประเสริฐ  
สัลเลโข วิริยัมหินา  พร้อมทั้งความเพียรเลิศเป็นเครื่องขูดกิเลสหาย  
มารา ละภันตุ โนกาสัง  โอกาส อย่างพึงมีแก่หมู่มารสิ้นทั้งหลาย  
กาตุญจะ วิริเยสุ เม  เป็นช่องประทุษร้ายทำลายล้างความเพียรจม  
พุทธาทิปะวะโร นาโถ  พระพุทธผู้บวรนาถ  
ธัมโม นาโถ วะรุตตะโม  พระธรรมที่พึ่งอันอุดม  
นาโถ ปัจเจกะพุทโธ จะ  พระปัจเจกพุทธะสม  
สังโฆ นาโถตตะโร มะมัง  ทบพระสงฆ์ที่พึ่งผยอง  
เตโสตตะมานุภาเวนะ  ด้วยอานุภาพนั้น  
มาโรกาสัง ละภันตุ มา  ขอหมู่มาร อย่าได้ช่อง  
ทะสะปุญญานุภาเวนะ  ด้วยเดชบุญ ทั้งสิบป้อง  
มาโรกาสัง ละภันตุ มา  อย่าเปิดโอกาสแก่มารเทอญ ฯ  

-----------------------



บทสวดทำวัตรเย็น
  วันทาตอนเย็น

วันทามิ ภันเต, เจติยัง สัพพัง สัพพัฏฐาเน, สุปะติฏฐิตัง, สารีริกะธาตุมะหา-โพธิง, พุทธะรูปัง สะกะลัง สะทา, กายะสา, วะจะสา มะนะสา เจวะ วันทาเมเต ตะถาคะเต สะยะเน, อาสะเน ฐาเน คะมะเน จาปิ สัพพะทา ฯ

          (กราบ)

อุกาสะ วันทามิ ภันเต, สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต, มะยา กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง, สามินา กะตัง ปุญญัง มัยหัง ทาตัพพัง, สาธุ สาธุ สาธุ, อะนุโมทามิ ฯ

          (กราบ)

วันทามิ พุทธัง, สัพพะ เม โทสัง, ขะมะถะ เม ภันเต ฯ

วันทามิ ธัมมัง, สัพพะ เม โทสัง, ขะมะถะ เม ภันเต ฯ

วันทามิ สังฆัง, สัพพะ เม โทสัง, ขะมะถะ เม ภันเต ฯ

วันทามิ อาราเม พัทธะเสมายัง, โพธิรุกขัง เจติยัง, สัพพะ เม โทสัง, ขะมะถะ เม ภันเต ฯ

วันทามิ มาตาปิตาครูอุปัชฌาอาจะริยะคุณัง, สัพพะ เม โทสัง, ขะมะถะ เม ภันเต ฯ


วันทามิ ภันเต ภะคะวา โลกะนาถัง อะตีตัง เม โทสัง, อะนาคะตัง เม โทสัง, ปัจจุปปันนัง เม โทสัง, ขะมะถะ เม ภันเต ฯ สาธุ, สาธุ, สาธุ, อะนุโมทามิ ฯ

          (กราบ ๓ ครั้ง)

-----------------------


ที่มา .watpitch.com
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 10 สิงหาคม 2561 14:49:50 โดย Maintenence » บันทึกการเข้า

[• สุขใจ บำรุงรักษาระบบ •]
Maintenence
ผู้ดูแลระบบ
นักโพสท์ระดับ 10
*

คะแนนความดี: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
Thailand Thailand

กระทู้: 1117


[• บำรุงรักษา •]

ระบบปฏิบัติการ:
Windows 7/Server 2008 R2 Windows 7/Server 2008 R2
เวบเบราเซอร์:
Chrome 67.0.3396.99 Chrome 67.0.3396.99


ดูรายละเอียด
« ตอบ #9 เมื่อ: 10 สิงหาคม 2561 14:13:55 »

http://i19.photobucket.com/albums/b177/yodnapa/4Blog/1165373709.jpg
บทสวด ทำวัตรสวดมนต์


บทสวดทำวัตรเย็น
  ชุมนุมเทวดา

สะรัชชัง สะเสนัง สะพันธุง นะรินทัง

ปะริตตานุภาโว สะทา รักขะตูติ

ผะริต๎วานะ เมตตัง สะเมตตา ภะทันตา

อะวิกขิตตะจิตตา ปะริตตัง ภะณันตุ

สัคเค กาเม จะ รูเป คิริสิขะระตะเฏ จันตะลิกเข วิมาเน

ทีเป รัฏเฐ จะ คาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวัตถุมหิ เขตเต

ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะละวิสะเม ยักขะคันธัพพะนาคา

ติฏฐันตา สันติเก ยัง มุนิวะระวะจะนัง สาธะโว เม สุณันตุ ฯ

ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา

ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา

ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา ฯ


(ถ้าจะสวดสิบสองตำนานใช้)
สะมันตา จักกะวาเฬสุ  อัต๎ราคัจฉันตุ เทวะตา

สัทธัมมัง มุนิราชัสสะ  สุณันตุ สัคคะโมกขะทัง ฯ
 
สัคเค กาเม จะ รูเป คิริสิขะระตะเฏ จันตะลิกเข วิมาเน...........อะยัมภะทันตา ฯ

(เหมือนเจ็ดตำนานไปจนจบ)

-----------------------

บทนะโม ๙ ชั้น (งานเจริญพระพุทธมนต์ทำนองสังโยค)

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต// อะระหะโต/ สัมมา/สัมพุท/ธัส//สะ นะโม ตัส//สะ

ภะคะวะโต/ อะระหะโต/ สัมมา/สัมพุท/ธัส//สะ นะโม ตัส//สะ ภะคะวะโต/

อะระหะโต/ สัมมา//สัมพุท//ธัส//สะ ฯ

บทนะโม ๕ ชั้น (สังฆกรรมและแสดงพระธรรมเทศนา)

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ//

ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ// นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต//

อะระหะโต สัมมา//สัมพุทธัสสะ ฯ


บทนะโม ๓ ชั้น (ให้ศีล ว่าทีละบทๆ)

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ//

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ//

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ฯ


บทนะโมชั้นเดียว (สวดมาติกาบังสุกุล)

นะโม ตัส//สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุท//ธัส//สะ นะโม ตัส//

สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุท//ธัส//สะ นะโม ตัส//สะ ภะคะวะโต

อะระหะโต สัมมาสัมพุท//ธัส//สะ ฯ




  ไตรสรณคมน์

พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ

สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ

ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ

ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

พุทธัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ

ธัมมัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ

สังฆัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ

ทุติยัมปิ พุทธัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ

ทุติยัมปิ ธัมมัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ

ทุติยัมปิ สังฆัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ

ตะติยัมปิ พุทธัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ

ตะติยัมปิ ธัมมัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ

ตะติยัมปิ สังฆัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ

-----------------------




  นมการสิทธิคาถา

โย จักขุมา โมหะมะลาปะกัฏโฐ

สามัง วะ พุทโธ สุคะโต วิมุตโต

มารัสสะ ปาสา วินิโมจะยันโต

ปาเปสิ เขมัง ชะนะตัง วิเนยยัง ฯ

พุทธัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ

โลกัสสะ นาถัญจะ วินายะกัญจะ

ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ

สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ ฯ

ธัมโม ธะโช โย วิยะ ตัสสะ สัตถุ

ทัสเสสิ โลกัสสะ วิสุทธิมัคคัง

นิยยานิโก ธัมมะธะรัสสะ ธารี

สาตาวะโห สันติกะโร สุจิณโณ ฯ

ธัมมัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ

โมหัปปะทาลัง อุปะสันตะทาหัง

ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ

สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ ฯ

สัทธัมมะเสนา สุคะตานุโค โย

โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะเชตา

สันโต สะยัง สันตินิโยชะโก จะ

ส๎วากขาตะธัมมัง วิทิตัง กะโรติ ฯ

สังฆัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ

พุทธานุพุทธัง สะมะสีละทิฏฐิง

ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ

สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ ฯ


สัมพุทเธ อัฏฐะวีสัญจะ        ท๎วาทะสัญจะ สะหัสสะเก  

ปัญจะสะตะสะหัสสานิ          นะมามิ สิระสา อะหัง  

เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ          อาทะเรนะ นะมามิหัง  

นะมะการานุภาเวนะ          หันต๎วา สัพเพ อุปัททะเว
 
อะเนกา อันตะรายาปิ          วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ  

สัมพุทเธ ปัญจะปัญญาสัญจะ         จะตุวีสะติสะหัสสะเก  

ทะสะสะตะสะหัสสานิ          นะมามิ สิระสา อะหัง  

เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ          อาทะเรนะ นะมามิหัง  

นะมะการานุภาเวนะ          หันต๎วา สัพเพ อุปัททะเว  

อะเนกา อันตะรายาปิ          วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ  

สัมพุทเธ นะวุตตะระสะเต          อัฏฐะจัตตาฬีสะสะหัสสะเก  

วีสะติสะตะสะหัสสานิ          นะมามิ สิระสา อะหัง  

เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ          อาทะเรนะ นะมามิหัง  

นะมะการานุภาเวนะ          หันต๎วา สัพเพ อุปัททะเว  

อะเนกา อันตะรายาปิ          วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ

-----------------------




  นโมการอัฏฐกะ

นะโม อะระหะโต สัมมา-  สัมพุทธัสสะ มะเหสิโน  

นะโม อุตตะมะธัมมัสสะ  ส๎วากขาตัสเสวะ เตนิธะ  

นะโม มะหาสังฆัสสาปิ  วิสุทธะสีละทิฏฐิโน  

นะโม โอมาต๎ยารัทธัสสะ  ระตะนัต๎ยัสสะ สาธุกัง  

นะโม โอมะกาตีตัสสะ  ตัสสะ วัตถุตตยัสสะปิ  

นะโม การัปปะภาเวนะ  วิคัจฉันตุ อุปัททะวา
 
นะโม การานุภาเวนะ  สุวัตถิ โหตุ สัพพะทา
 
นะโม การัสสะ เตเชนะ  วิธิม๎หิ โหมิ เตชะวา ฯ

-----------------------


ที่มา .watpitch.com
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 10 สิงหาคม 2561 14:50:26 โดย Maintenence » บันทึกการเข้า

[• สุขใจ บำรุงรักษาระบบ •]
Maintenence
ผู้ดูแลระบบ
นักโพสท์ระดับ 10
*

คะแนนความดี: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
Thailand Thailand

กระทู้: 1117


[• บำรุงรักษา •]

ระบบปฏิบัติการ:
Windows 7/Server 2008 R2 Windows 7/Server 2008 R2
เวบเบราเซอร์:
Chrome 69.0.3497.100 Chrome 69.0.3497.100


ดูรายละเอียด
« ตอบ #10 เมื่อ: 28 กันยายน 2561 16:12:28 »


http://i19.photobucket.com/albums/b177/yodnapa/4Blog/1165373709.jpg
บทสวด ทำวัตรสวดมนต์


บทสวดมนต์ประจำวัน
วันอาทิตย์
  ไชยน้อย (แบบสวดมนต์ฉบับหลวง)

นะโม เม พุทธะเตชะสา ระตะนัตตะยะธัมมิกา เตชะปะสิทธิปะสี เทวา นารายะปะระเมสูรา สิทธิพรหมา จะ อินทา จะ จะตุโลกาภิรักขะกา สะมุททา ภูตะคังคา จะ สัพพะไชยะปะสิทธี ภะวันตุ โน,

ไชยะ ไชยะ ธระณิ ธระณี อุทะธิ อุทะธี นะทิ นะที

ไชยะ ไชยะ คะคณตลนิไสนิไล ไสเสล เมรุโรราชะพล นระชี

ไชยะ ไชยะ คัมภีระโสมภินาเคน นาคี ปิสา จะ ภูตกกะฬี

ไชยะ ไชยะ ทุนนิมิตตะโรคี ไชยะ ไชยะ สิงคีสุทธา ทนะมุขะชา

ไชยะ ไชยะ รุณณะมุขะยาตรา ไชยะ ไชยะ สัปปาทินาคะ กุละคัณฐก

ไชยะ ไชยะ คะชะพล จะตุรง สูกะระภุชงคะ สีหะ พยัคฆะ ทีปา

ไชยะ ไชยะ รัญญะ มุขะยาตรา ชิตะ ชิตะ เสนนารี ปุณณะสุทธินระดี

ไชยะ ไชยะ สุขา สุขา ชีวี ไชยะ ไชยะ ธระณีตะเล สะทา สุไชยา

ไชยะ ไชยะ ธระณี สานติ สะทา ไชยะ ไชยะ มังกรราชรัญญา ภะวัคเค

ไชยะ ไชยะ วะรุณะ ยักเข ไชยะ ไชยะ รักขะเส สุระภูชะเตชา

ไชยะ ไชยะ พรหมเมนทะคะณา ไชยะ ไชยะ ราชาธิราช สาชัย

ไชยะ ไชยะ ปะฐะวิง สัพพัง

ไชยะ ไชยะ อะระหันตัง ปัจเจกะพุทธะสาวัง

ไชยะ ไชยะ มะเหสุโร หะโร หะริน เทวัง

ไชยะ ไชยะ พรหมาสุรักโข

ไชยะ ไชยะ นาโค วิรุฬหะโก วิรูปักโข จันทิมา ระวิอินโท จะ เวนัตตัยโย จะ กุเวโร วะรุโณปิจะ อัคคีวายุ จะ ปะชุณโห กุมาโร ธะตะรัฏฐะโก อัฏฐาระสะ มะหาเทวา สิทธิตาปะสะอาทะโย อิสะโย สาวะกา สัพเพ ไชยะราโม ภะวันตุ โน ไชยะธัมโม จะ สังโฆ จะ ธะนะปาโล จะ ไชยะกัง เอเตนะ ไชยะ เตเชนะ โหตุ โน ไชยะมังคะลัง เอเตนะ พุทธะเตเชนะ โหตุ เต ไชยะมังคะลัง ฯ

ชะโยปิ พุทธัสสะ สิรีมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาปิมะโต ปะราชะโย อุงโฆ ชะยุงโฆ โพธิมัณเฑ ปะโมทิตวา ไชยะ ตะทา พรหมะคณา** มะเหสิโน, ซ้ำ** เปลี่ยนบท (อินทะคะณา, สุปัณณะคะณา, นาคะคะณา, เทวะคะณา, คันธัพพะคะณา )

ชะยันโต โพธิยา มูเล  สัก๎ยานัง นันทิวัฑฒะโน
เอวัง ต๎วัง วิชะโย โหหิ  ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล 
อะปะราชิตะปัลลังเก  สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง  อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ ฯ
สุนักขัตตัง สุมังคะลัง  สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง
สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจาริสุ
ปะทักขิณัง กายะกัมมัง  วาจากัมมัง ปะทักขิณัง
ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง  ปะณิธี เต ปะทักขิณา
ปะทักขิณานิ กัต๎วานะ  ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ ฯ 
โส อัตถะลัทโธ สุขิโต  วิรุฬโห พุทธะสาสเน
อะโรโค สุขิโต โหหิ  สะหะ สัพเพหิ ญาติภิ
สา อัตถะลัทธา สุขิตา  วิรุฬหา พุทธะสาสเน
อะโรคา สุขิตา โหหิ  สะหะ สัพเพหิ ญาติภิ
เต อัตถะลัทธา สุขิตา  วิรุฬหา พุทธะสาสะเน
อะโรคา สุขิตา โหถ  สะหะ สัพเพหิ ญาติภิ ฯ

สุณันตุ โภนโต เย เทวา อัสมิง ฐาเน อะธิคะตา ทีฆายุกา สะทา โหนตุ สุขิตา โหนตุ สัพพะทา รักขันตุ สัพพะสัตตานัง รักขันตุ ชินะสาสะนัง ยากาจิ ปัตถะนา เตสัง สัพเพ ปูเรนตุ มะโนระถา ยุตตะกาเล ปะวัสสันตุ วัสสัง วัสสาวะลาหะกา โรคา จุปัททะวา เตสัง นิวาเรนตุ จะ สัพพะทา กายะสุขัง จิตตะสุขัง อาระหันตุ ยะถาระหัง จุลละไชยะปะกะระณัง สะมัตตัง นิฏฐิตัง ฯ

-----------------------



  ไชยน้อย (แบบโบราณ)

นะโม เม พุทธะเตชะสา ระตะนัตตะยะธัมมิกา

เตชะปะสิทธิปะสีเทวา นารายะ ปะระเมศะวะรา

สิทธิพรหมา จะ อินทา จะ จะตุโลกาภิรักขะกา

สะมุททา ภูตะคังคา จะ สัพพะชัยยะปะสิทธิ ภะวันตุ เต,

ชัยยะ ชัยยะ ธอระณิ ธอระณี อุทะธิ อุทะธี นะทิ นะที,

ชัยยะ ชัยยะ คัคคะนะตะละนิสะยะ นิละยะ เสยยะเสละ สุเมรุราชะ พะนะระชี

ชัยยะ ชัยยะ คัมภีระโสพภี, นาเคนทะนาคี ปีสา จะ ภูตะกาลี,

ชัยยะ ชัยยะ ทุนนิมิตตะโรคี, ชัยยะ ชัยยะ สิงคีสุตทา ฆานะมุขะชา,

ชัยยะ ชัยยะ รุณณะมุขะสาตรา, ชัยยะ ชัยยะ จัมปาทินาคะกุระคัณฐะกัง,

ชัยยะ ชัยยะ คะชะคะณะตุรังคะณะ สุกะระภูชังคะ สีหะพะยัคฆะทีปา,

ชัยยะ ชัยยะ รุณณะมุขะยาตรา ชินะ เสนาริปู ปุณะสุตทิระตี,

ชัยยะ ชัยยะ สุขา สุขา ชีวี, ชัยยะ ชัยยะ ธอระณีตะเล สะทา สุชัยยะ,

ชัยยะ ชัยยะ ธอระณี สานะติ สะทา, ชัยยะ ชัยยะ มังกะระละยา ภะวัคเค,

ชัยยะ ชัยยะ วะรุณะ ยักเข, ชัยยะ ชัยยะ รักขะเสสุ ระภูชะเตชา,

ชัยยะ ชัยยะ พรหมเมนทะคะณา, ชัยยะ ชัยยะ ราชาธิราชะ ชะยัง,

ชัยยะ ชัยยะ ปะฐะวิง สัพพัง, ชัยยะ ชัยยะ อะระหันตัง ปัจเจกพุทธะสาวะกัง, ชัยยะ ชัยยะ มะเหสุรังคะ หะโรหะรินทะ เทวา, ชัยยะ ชัยยะ พรหมาสุรักโข,

ชัยยะ ชัยยะ นาโค วิรุฬหะโก วิรูปักโข จันทิมา ระวิอินโท จะ เวนัตตัยโย จะ กุเวโร วะรุโณปิ จะ อัคคีวาโย จะ ปาชุณะโห

กุมาโร ธะตะรัฏฐะโก อัฏฐาระสะ มะหาเทวา สิทธิตาปะสะ อาทะโย เอสิโน

สาวะกา สัพเพ ชัยยะลาโม ภะวันตุ โน

ชัยยะ ธัมโม จะ สังโฆ จะ ทะสะปาโล จะ ชัยยะกัง

เอเตนะ ชัยยะ เตเชนะ โสตถี ภะวันตุ โน

เอเตนะ พุทธะเตเชนะ โหนตุ โน ชัยยะ มังคะลัง,

ชะโยปิ พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาปิ มะโต ปะราชะโย อุงโฆ ไสยยุง โพธิมัณเฑ ปะโมทิตา ชัยยะ ตะทา “พรัหมะคะณา” มะเหสิโน,

ชะโยปิ พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาปิ มะโต ปะราชะโย อุงโฆ ไสยยุง โพธิมัณเฑ ปะโมทิตา ชัยยะ ตะทา “อินทะคะณา” มะเหสิโน,

ชะโยปิ พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาปิ มะโต ปะราชะโย อุงโฆ ไสยยุง โพธิมัณเฑ ปะโมทิตา ชัยยะ ตะทา “เทวะคะณา” มะเหสิโน,

ชะโยปิ พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาปิ มะโต ปะราชะโย อุงโฆ ไสยยุง โพธิมัณเฑ ปะโมทิตา ชัยยะ ตะทา “สุปันนะคะณา” มะเหสิโน,

ชะโยปิ พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาปิ มะโต ปะราชะโย อุงโฆ ไสยยุง โพธิมัณเฑ ปะโมทิตา ชัยยะ ตะทา “นาคะคะณา” มะเหสิโน,

ชะโยปิ พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาปิ มะโต ปะราชะโย อุงโฆ ไสยยุง โพธิมัณเฑ ปะโมทิตา ชัยยะ ตะทา “สัพพะคะณา” มะเหสิโน,

สุณันตุ โภนโต เย เทวา อัส๎มิง ฐาเน อะธิคะตา
ทีฆายุกา สะทา โหนตุ  สุขิตา โหนตุ สัพพะทา
รักขันตุ สัพพะสัตตานัง รักขันตุ ชินะสาสะนัง
ยากาจิ ปัตถะนา เตสัง  สัพเพ ปูเรนตุ มะโนระถา
ยุตตะกาเล ปะวัสสันตุ  วัสสัง วัสสาวะลาหะกา
โรคา จุปัททะวา เตสัง  นิวาเรนตุ จะ สัพพะทา
กายะสุขัง จิตตะสุขัง  อาหะรันตุ.

(ยะถาระหัง. อิติ จุลลชัยยะ ปะกะระณัง สะมัตถัง นิฏฐิตัง)

-----------------------



  ไชยใหญ่

ยัง ยัง สัพพัญญูวอระธัมมัง สังฆังชินัสสะ สะวัสดี

มาตะรัง ปิตะรัง สัพพัง อุปัชฌาจะริเย วะหัง

นะมัสสิตตะวา ละลิปุญญังสะลาม สัพพะสิทธิ สิรินทะทัง

ตันเตชะสา วิสสาเรนะ สะลามพระสิทธิ ภะวันตุ โน

ไชยะ ไชยะ วาโย อาปี

ไชยะ ไชยะ ธอระณี สุเมโรราชนุคา

ไชยะ ไชยะ คีรีสุทัสสา นอกอระวิกะพรหมา อิสินทะราชธิบอดี

ไชยะ ไชยะ สุคันธอระที

ไชยะ ไชยะ เนมินทะคีรีวินาตตะเกา

ไชยะ ไชยะ อัสสากัณเณา

ไชยะ ไชยะ ปัพพะตะเวภารไกรลาส สะวิสารสะวิมานนะ สิพพะเคารี

ไชยะ ไชยะ หิมะวันตะนะที ทัณฑะกะคีรี อะเนกกะโกฏินุคา

ไชยะ ไชยะ สัตตะโกฏิจักกะวาระ มหาสุเมโรราชชะคีรี

ไชยะ ไชยะ มหาโพธิ ทุมมะราชชะบัดดี มุนินทะมาระวีชิต

ไชยะ ไชยะ พลนอราชชะวีชิต วิรุฬหีตอุสสะริตปุพพิตตะ ปุณณะวาผล

ไชยะ ไชยะ วิปุลละหิมะวันตะสีหา ราชชะเนือระคะณาเพียคฆะโกกะทีปี

ไชยะ ไชยะ วิสอระสัตตะปะที สัมปะอุนนา นาภีวิจฉิกะสอระภู

ไชยะ ไชยะ รัตตะเปสุระมูสิกะ สัตตะวานุภูตะปราณี ขุททะกะนีกร

ไชยะ ไชยะ ขักขะจัมมร ชมพูกะพานร ปิจุงคะรุงคะณา

ไชยะ ไชยะ ดอระสา สุกระมะหิงสา วิราชชะภูตกกอนี

ไชยะ ไชยะ กินนอระ กินนอรี

ไชยะ ไชยะ สัตตะวาปาทา

ไชยะ ไชยะ สัตตะวาทิบาท ปาณะกะชาตี

ไชยะ ไชยะ สัตตะวา จะตุบาท พะหุบาท วิกาตประสิทธิเต เชาชิต

ไชยะ ไชยะ อัสสะดอระวีวิชธัมมะนิ กุสะริตมะหิทธิยักขา วิไชย

ไชยะ ไชยะ จันทอระสีไห อัสสะมะเนาไมคัณฐก กอราชชะ มุนินทะมาระวิชิต

ไชยะ ไชยะ อัสสะดอระคะณา สินธพนพพานหนนอริน พลละหกกะพีสร

ไชยะ ไชยะ คัสสัพพละนีกร คันทกกะวีวร นิลละหัสสะดินทะคะณา

ไชยะ ไชยะ วอระปีตกคะชา

ไชยะ ไชยะ ตามพระกะเสกสวนราชธีบอดี

ไชยะ ไชยะ โอทาตกกอรินฉัตทันถะ หัสสะดินคัชชะราชชะพลลา

ไชยะ ไชยะ อุโปสถา มหาอุโปสถา วาระณานาคคะราชชะวีไชย

ไชยะ ไชยะ คัชชะวีวร ไอราชชะภูตก คีรีเมคฆะราชชะ กอรินทะกุรา

ไชยะ ไชยะ สะลามพะ สัตตาคะณา

ไชยะ ไชยะ มหาสมันตะ ราชชะวอรา

ไชยะ ไชยะ จักกะวัตติราชา

ไชยะ ไชยะ มหาสุทัสสา นอราชชะภูบาล

ไชยะ ไชยะ ราชชะเนือระวีสาร สัตตะจักกะวาฬะสะหัสสา สังขยะ

ไชยะ ไชยะ สีสิทธิธัมมะ โสกกอราชชะ วอรา พุทธะ ปัตติเนือระบัดดี

ไชยะ ไชยะ วิสอระคะณา วิทยานทอระวอระดาบส ปะสิทธิปะสี

ไชยะ ไชยะ คะณาคัณธพพิพานนพ พะมะเหสีสิทธิพิทยาจาร

ไชยะ ไชยะ ยักขารักขาสาตตะมาน มัตตะยุกอลือกาล สะลามพะภูตกปีศาจ

ไชยะ ไชยะ สะลามพะภูตกกอสัต

ไชยะ ไชยะ นพพะละตน สะดอระตน สะนีกร

ไชยะ ไชยะ จักกลละตน นะวีสร

ไชยะ ไชยะ อัมพร ลาลด พดสุรินทะราชา

ไชยะ ไชยะ อัคคิ กัลยา

ไชยะ ไชยะ ทะวาอัคคิอัคคิ หุตะปะฐะวี

ไชยะ ไชยะ สะลามพะสัตรู ไพรี

ไชยะ ไชยะ ราตินทิวา จาตุสันทะยา

ไชยะ ไชยะ มะนุสสา สะลามพะภูมมัตถา เทวา สีรักขา เทพพะพีบูล

ไชยะ ไชยะ วัณณะ เทพพะอุชชุนคีรี เทพพะอาดูน นพพะ เทพพะวีวิธ

ไชยะ ไชยะ วอระจันทา หิตะยาจะตุโลกกะ มะหิทธิทะสะ โลกกะปาลา

ไชยะ ไชยะ เทพพะอินทะชิต ไพรปะจิต สุระพล พีตา

ไชยะ ไชยะ เทพพะตาวะติงสา

ไชยะ ไชยะ ยามาธิราช เทพพะดุสิตา

ไชยะ ไชยะ นิมมานะระดี ธิบัดดี สูนสี สิทธิ สิริเดชชะพีพรต

ไชยะ ไชยะ ปะระนิมมิตะ วะสะวัตตี สวงสูนมัตทะยาน ดูนสวงคะกามา

ไชยะ ไชยะ พรัหมปะริสัชชา พรัหมปะโรหิตามหาพรัหมา

ไชยะ ไชยะ ปาริตตาภา อัปปะมาณา ภาณุอาภัสสะรา

ไชยะ ไชยะ พรัหมปะริสัชชา พรัหมปะโรหิตามหาพรัหมา

ไชยะ ไชยะ ปาริตตาภา อัปปะมาณะ สุภาพรัหมะ สุภะคิมหา

ไชยะ ไชยะ พรัหมะสุทัสสา สุทัสสีอะกะนิษฐาพรัหมะโลก กะโลปี

ไชยะ ไชยะ อะรูปากะรูปี อะโลปาธิบัดดี อากาสานัญจา

ไชยะ ไชยะ วิญญานัญจา อากิญจัญญา ยะตะนะ เนวะสัญญาณาสัญญา

ไชยะ ไชยะ โสดาสะกิทาคา อะนาคามี อะระหันตา ธัมมา

ไชยะ ไชยะ อัฏฐามัคคะผลลา ปะทะโมกขา มหาเนือลือพานเอกี

ไชยะ ไชยะ พุทเธกะโลปี อัฏฐาพิธะสัมมะนี สีสิทธิเตเชา

ไชยะ ไชยะ มหาสะมันตะราชชะวอรา

ไชยะ ไชยะ ปัจเจกะพุทธา

ไชยะ ไชยะ มหาอะริยาคคะยุคา

ไชยะ ไชยะ อะสีติมะหาสาวก ขีณาสาวก สะลามพะไอเยือนชะนา

ไชยะ ไชยะ นิขีสะสุทธา

ไชยะ ไชยะ ธัมมานพพะ โลกกะอุดร

ไชยะ ไชยะ ปัญญัติปะวรปะฏิวิสร ปะฏิเทพพะนุสาต

ไชยะ ไชยะ สุตันตะวอราช อะภิธัมมา วิราช วิสุทธิ วิไชย

ไชยะ ไชยะ ปิฏกกะไตร อัฏฐาพีทะยานไชย ไตรพิยานดร

ไชยะ ไชยะ สังฆัสสานิกร ปฏิปัตติปะวร อุชชุนปะฏินิลา

ไชยะ ไชยะ ทานาทิเตชา

ไชยะ ไชยะ ศีลาวิสุทธิอัมพุทธิเดช

ไชยะ ไชยะ ภาวนาพิเสส

ไชยะ ไชยะ ปาระมีเชฏฐาอะปะริมาเณ

ไชยะ ไชยะ ปะฏิสัมภิทาญาณ ปัญจะวิมุตติสาร สัพพิทานพิภิญญาณ

ไชยะ ไชยะ สัตตะวิสุทธาอัฏฐาพิทธะสัมมา ปะฏิญญาณะวิสาร

ไชยะ ไชยะ นพพะปุพพะวิหาร ทะสะพลละญาณะ วิสุทธาติเรก

ไชยะ ไชยะ เอกาทะสะ เมตตานิสังเสก กอรราชะปะฏิการ

ไชยะ ไชยะ ทะวาทะสาภิธัมมา จักกลละตนมหา ปะภาปะวอรา

ไชยะ ไชยะ เตระสาธุตุงคานุภาวา สุทธุกอราชชะ ปะวอรา

ไชยะ ไชยะ จุททะสา พุทธัญญาณาณุภาวา มหาวิเสสะนะวิสาร

ไชยะ ไชยะ สิพพิสาสะนุราชเตเชาสวงหารสวงโลกอากร

ไชยะ ไชยะ ทิสสะนุสาสสะนุราชเตเชาสวงหารสวงโลกสวงหาร

ไชยะ ไชยะ พรหมะสาสสะนะวิสาร พรัหมะณาจารย์ สุเสนหา ปะฏิเนือระยุต

เอเตนะ ไชยะเตเชนะ  โหตุ โน ไชยะมังคะลัง 
เอเตนะ สัจจะเตเชนะ  โหตุ โน ไชยะมังคะลัง
เอเตนะ จันทะภาวะนานุเตเชนะ  ไชยะโสตถี ภะวันตุโน
มาตุยาภัตติกะเตเชนะ  ไชยะโสตถี ภะวันตุโน
ปิตุคารวะ เตเชนะ  ไชยะโสตถี ภะวันตุโน
อาจะริยาทะระเตเชนะ  โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา
อุปัชฌายาทะระเตเชนะ  โหตุ โน สัพพะมังคะลัง
ญาติกาทะระเตเชนะ  สัพพะสิทธีภะวันตุโน
สะหะยาทะระเตเชนะ  ไชยะ โสตถี ภะวันตุโน
เอเตนะ จักกะวัตติเตเชนะ  ไชยะ ปะถะวี โสตถินา
เอเตนะ สิทธิเตเชนะ  ชะยะโสตถี ภะวันตุโน 
เอเตนะ สะติเตเชนะ  โหตุ โน ชะยะมังคะลัง
เอเตนะ พะละเตเชนะ  โหตุ โน โสตถีมังคะลัง
เอเตนะ สีละเตเชนะ  ชะยะโสตถี ภะวันตุโน
เอเตนะ สัคคะเตเชนะ  โหตุ โน โสตถี มังคะลัง
เอเตนะ พรัหมะเตเชนะ  โหตุ โน ชะยะมังคะลัง
เอเตนะ หาริเตเชนะ  โหตุ โน โสตถิมังคะลัง
เอเตนะ ทานะเตเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง
เอเตนะ สีละเตเชนะ  โหตุ โน โสตถิมังคะลัง
เอเตนะ ภาวนาเตเชนะ  ชะยะ โสตถี ภะวันตุโน
เอเตนะ ปัญญาเตเชนะ  โหตุ โน ชะยะมังคะลัง
เอเตนะ พุทธะเตเชนะ  โหตุ โน ชะยะมังคะลัง
เอเตนะ ธัมมะเตเชนะ  โหตุ โน โสตถิมังคะลัง
เอเตนะ สังฆะเตเชนะ  โหตุ โน โสตถีมังคะลัง
พุทธัญ จะ ธัมมัญ จะ สังฆัญ จะ  นัตตะวา ยัง ปุญญะมาละภิ
สิทธิ ทันตัสสะ เตเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง
มหาไชยะสิทธิ ปะกะระณัง  สะมัตตัง นิฏฐิตังฯ 

-----------------------



  ปัจจยวิภังควาโร

(หันทะ มะยัง ปัจจะยะวิภังคะวาระปาฐัง ภะณามะ เส)

๑. เหตุปัจจะโยติ เหตุ เหตุ สัมปะยุตตะกานัง ธัมมานัง ตังสะมุฏฐานานัญจะ รูปานัง เหตุปัจจะเยนะ ปัจจะโยติ ฯ

๒. อารัมมะณะปัจจะโยติ รูปายะตะนัง จักขุวิญญาณะธาตุยา ตังสัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อารัมมะณะปัจจะเยนะ ปัจจะโย,

สัททายะตะนัง โสตะวิญญาณะธาตุยา ตังสัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อารัมมะณะปัจจะเยนะ ปัจจะโย,

คันธายะตะนัง ฆานะวิญญาณะธาตุยา ตังสัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อารัมมะณะปัจจะเยนะ ปัจจะโย,

ระสายะตะนัง ชิวหาวิญญาณะธาตุยา ตังสัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อารัมมะณะปัจจะเยนะ ปัจจะโย,

โผฏฐัพพายะตะนัง กายะวิญญาณะธาตุยา ตังสัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อารัมมะณะปัจจะเยนะ ปัจจะโย,

รูปายะตะนัง สัททายะตะนัง คันธายะตะนัง ระสายะตะนัง โผฏฐัพพายะตะนัง มะโนธาตุยา ตังสัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อารัมมะณะปัจจะเยนะ ปัจจะโย,

สัพเพ ธัมมา มะโนวิญญาณะธาตุยา ตัง สัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อารัมมะณะปัจจะเยนะ ปัจจะโย,

ยัง ยัง ธัมมา อารัพภะ เย เย ธัมมา อุปปัชชันติ จิตตะเจตะสิกา ธัมมา เต เต ธัมมา เตสัง เตสัง ธัมมานัง อารัมมะณะปัจจะเยนะ ปัจจะโยติ ฯ

๓. อะธิปะติปัจจะโยติ ฉันทาธิปะติ ฉันทาสัมปะยุตตะกานัง ธัมมานัง ตังสมุฏฐานานัญจะ รูปานัง อะธิปะติปัจจะเยนะ ปัจจะโย,

วิริยาธิปะติ วิริยาสัมปะยุตตะกานัง ธัมมานัง ตังสะมุฏฐานานัญจะ รูปานัง อะธิปะติปัจจะเยนะ ปัจจะโย,

จิตตาธิปะติ จิตตาสัมปะยุตตะกานัง ธัมมานัง ตังสะมุฏฐานานัญจะ รูปานัง อะธิปะติปัจจะเยนะ ปัจจะโย,

วิมังสาธิปะติ วิมังสาสัมปะยุตตะกานัง ธัมมานัง ตังสะมุฏฐานานัญจะ รูปานัง อะธิปะติปัจจะเยนะ ปัจจะโย,

ยัง ยัง ธัมมัง คะรุง กัต๎วา เย เย ธัมมา อุปปัชชันติ จิตตะเจตะสิกา ธัมมา เต เต ธัมมา เตสัง เตสัง ธัมมานัง อะธิปะติปัจจะเยนะ ปัจจะโย ฯ

๔. อะนันตะระปัจจะโยติ จักขุวิญญาณะธาตุ ตัง สัมปะยุตตะกา จะ ธัมมา มะโนธาตุยา ตังสัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย,

มะโนธาตุ ตังสัมปะยุตตะกา จะ ธัมมา มะโนวิญญาณะธาตุยา ตังสัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย,

โสตะวิญญาณะธาตุ ตังสัมปะยุตตะกา จะ ธัมมา มะโนธาตุยา ตังสัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย,

มะโนธาตุ ตังสัมปะยุตตะกา จะ ธัมมา มะโนวิญญาณะธาตุยา ตังสัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย,

ฆานะวิญญาณะธาตุ ตังสัมปะยุตตะกา จะ ธัมมา มะโนธาตุยา ตังสัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย,

มะโนธาตุ ตังสัมปะยุตตะกา จะ ธัมมา มะโนธาตุยา ตังสัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย,

ชิวหาวิญญาณะธาตุ ตังสัมปะยุตตะกา จะ ธัมมา มะโนธาตุยา ตังสัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย,

มะโนธาตุ ตังสัมปะยุตตะกา จะ ธัมมา มะโนวิญญาณะธาตุยา ตังสัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย,

กายะวิญญาณะธาตุ ตังสัมปะยุตตะกา จะ ธัมมา มะโนธาตุยา ตังสัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย,

มะโนธาตุ ตังสัมปะยุตตะกา จะ ธัมมา มะโนวิญญาณะธาตุยา ตังสัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย,

ปุริมา ปุริมา กุสะลา ธัมมา ปัจฉิมานัง ปัจฉิมานัง กุสะลานัง ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย,

ปุริมา ปุริมา กุสะลา ธัมมา ปัจฉิมานัง ปัจฉิมานัง อัพ๎ยากะตานัง ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย,

ปุริมา ปุริมา กุสะลา ธัมมา ปัจฉิมานัง ปัจฉิมานัง อะกุสะลานัง ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย,

ปุริมา ปุริมา อะกุสะลา ธัมมา ปัจฉิมานัง ปัจฉิมานัง อัพ๎ยากะตานัง ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย,

ปุริมา ปุริมา อัพ๎ยากะตา ธัมมา ปัจฉิมานัง ปัจฉิมานัง อัพ๎ยากะตานัง ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย,

ปุริมา ปุริมา อัพ๎ยากะตา ธัมมา ปัจฉิมานัง ปัจฉิมานัง กุสะลานัง ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย,

ปุริมา ปุริมา อัพ๎ยากะตา ธัมมา ปัจฉิมานัง ปัจฉิมานัง อะกุสะลานัง ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย,

เยสัง เยสัง ธัมมานัง อะนันตะรา เย เย ธัมมา อุปปัชชันติ จิตตะเจตะสิกา ธัมมา เต เต ธัมมา เตสัง เตสัง ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย ฯ

(ทั้งหมดมี ๒๔ วิภังค์)

-----------------------


ที่มา .watpitch.com
บันทึกการเข้า

[• สุขใจ บำรุงรักษาระบบ •]
Maintenence
ผู้ดูแลระบบ
นักโพสท์ระดับ 10
*

คะแนนความดี: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
Thailand Thailand

กระทู้: 1117


[• บำรุงรักษา •]

ระบบปฏิบัติการ:
Windows 7/Server 2008 R2 Windows 7/Server 2008 R2
เวบเบราเซอร์:
Chrome 73.0.3683.103 Chrome 73.0.3683.103


ดูรายละเอียด
« ตอบ #11 เมื่อ: 26 เมษายน 2562 13:41:43 »

http://i19.photobucket.com/albums/b177/yodnapa/4Blog/1165373709.jpg
บทสวด ทำวัตรสวดมนต์


บทสวดมนต์ประจำวัน

  มงคลสูตร

พะหู เทวา มะนุสสา จะ  มังคะลานิ อะจินตะยุง
อากังขะมานา โสตถานัง พ๎รูหิ มังคะละมุตตะมัง ฯ
อะเสวะนา จะ พาลานัง  ปัณฑิตานัญจะ เสวะนา
ปูชา จะ ปูชะนียานัง  เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
ปะฏิรูปะเทสะวาโส จะ  ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา
อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ  เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
พาหุสัจจัญจะ สิปปัญจะ  วินะโย จะ สุสิกขิโต
สุภาสิตา จะ ยา วาจา  เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
มาตาปิตุอุปัฏฐานัง  ปุตตะทารัสสะ สังคะโห
อะนากุลา จะ กัมมันตา  เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ 
ทานัญจะ ธัมมะจะริยา จะ  ญาตะกานัญจะ สังคะโห
อะนะวัชชานิ กัมมานิ  เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
อาระตี วิระตี ปาปา  มัชชะปานา จะ สัญญะโม
อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ  เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
คาระโว จะ นิวาโต จะ  สันตุฏฐี จะ กะตัญญุตา
กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง  เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
ขันตี จะ โสวะจัสสะตา  สะมะณานัญจะ ทัสสะนัง
กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา  เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
ตะโป จะ พรัห๎มะจะริยัญจะ  อะริยะสัจจานะ ทัสสะนัง
นิพพานะสัจฉิกิริยา จะ  เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
ผุฏฐัสสะ โลกะธัมเมหิ  จิตตัง ยัสสะ นะ กัมปะติ
อะโสกัง วิระชัง เขมัง  เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
เอตาทิสานิ กัต๎วานะ  สัพพัตถะมะปะราชิตา
สัพพัตถะ โสตถิง คัจฉันติ  ตันเตสัง มังคะละมุตตะมันติ ฯ



  รตนสูตร
ยังกิญจิ วิตตัง อิธะ วา หุรัง วา

สัคเคสุ วา ยัง ระตะนัง ปะณีตัง

นะ โน สะมัง อัตถิ ตะถาคะเตนะ

อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง

เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ

ขะยัง วิราคัง อะมะตัง ปะณีตัง

ยะทัชฌะคา สัก๎ยะมุนี สะมาหิโต

นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจิ

อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง

เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ

ยัมพุทธะเสฏโฐ ปะริวัณณะยี สุจิง

สะมาธิมานันตะริกัญญะมาหุ

สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ

อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง

เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ

เย ปุคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสัฏฐา

จัตตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนติ

เต ทักขิเณยยา สุคะตัสสะ สาวะกา

เอเตสุ ทินนานิ มะหัปผะลานิ

อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง

เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ

เย สุปปะยุตตา มะนะสา ทัฬ๎เหนะ

นิกกามิโน โคตะมะสาสะนัมหิ

เต ปัตติปัตตา อะมะตัง วิคัยหะ

ลัทธา มุธา นิพพุติง ภุญชะมานา

อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง

เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ

ขีณัง ปุราณัง นะวัง นัตถิ สัมภะวัง

วิรัตตะจิตตายะติเก ภะวัส๎มิง

เต ขีณะพีชา อะวิรุฬหิฉันทา

นิพพันติ ธีรา ยะถายัมปะทีโป

อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง

เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ



  กรณียเมตตสูตร
กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ    ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ 
สักโก อุชู จะ สุหุชู จะ   สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี
สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ   อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ 
สันตินท๎ริโย จะ นิปะโก จะ  อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ
นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ   เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง 
สุขิโน วา เขมิโน โหนตุ  สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา
เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ  ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา 
ทีฆา วา เย มะหันตา วา   มัชฌิมา รัสสะกา อะณุกะถูลา
ทิฏฐา วา เย จะ อะทิฏฐา    เย จะ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร 
ภูตา วา สัมภะเวสี วา   สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา
นะ ปะโร ปะรัง นิกุพเพถะ    นาติมัญเญถะ กัตถะจิ นัง กิญจิ
พ๎ยาโรสะนา ปะฏีฆะสัญญา  นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ
มาตา ยะถา นิยัง ปุตตัง    อายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข 
เอวัมปิ สัพพะภูเตสุ   มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง
เมตตัญจะ สัพพะโลกัส๎มิง    มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง 
อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ            อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปัตตัง 
ติฏฐัญจะรัง นิสินโน วา    สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ 
เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ   พรัหมะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ
ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ   สีละวา ทัสสะเนนะ สัมปันโน   
กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง  นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติ ฯ


-----------------------

ที่มา .watpitch.com
บันทึกการเข้า

[• สุขใจ บำรุงรักษาระบบ •]
Maintenence
ผู้ดูแลระบบ
นักโพสท์ระดับ 10
*

คะแนนความดี: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
Thailand Thailand

กระทู้: 1117


[• บำรุงรักษา •]

ระบบปฏิบัติการ:
Windows 7/Server 2008 R2 Windows 7/Server 2008 R2
เวบเบราเซอร์:
Chrome 74.0.3729.169 Chrome 74.0.3729.169


ดูรายละเอียด
« ตอบ #12 เมื่อ: 14 มิถุนายน 2562 11:42:45 »

http://i19.photobucket.com/albums/b177/yodnapa/4Blog/1165373709.jpg
บทสวด ทำวัตรสวดมนต์


บทสวดมนต์ประจำวัน

  ขันธปริตตคาถา
วิรูปักเขหิ เม เมตตัง  เมตตัง เอราปะเถหิ เม
ฉัพ๎ยาปุตเตหิ เม เมตตัง  เมตตัง กัณหาโคตะมะเกหิ จะ
อะปาทะเกหิ เม เมตตัง  เมตตัง ทิปาทะเกหิ เม  
จะตุปปะเทหิ เม เมตตัง  เมตตัง พะหุปปะเทหิ เม  
มา มัง อะปาทะโก หิงสิ มา มัง หิงสิ ทิปาทะโก
มา มัง จะตุปปะโท หิงสิ  มา มัง หิงสิ พะหุปปะโท
สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา  สัพเพ ภูตา จะ เกวะลา
สัพเพ ภัท๎รานิ ปัสสันตุ  มา กิญจิ ปาปะมาคะมา
อัปปะมาโณ พุทโธ อัปปะมาโณ ธัมโม อัปปะมาโณ สังโฆ ปะมาณะวันตานิ สิริงสะปานิ อะหิ วิจฉิกา สะตะปะที อุณณานาภี สะระพู มูสิกา กะตา เม รักขา กะตา เม ปะริตตา ปะฏิกกะมันตุ ภูตานิ โสหัง นะโม ภะคะวะโต นะโม สัตตันนัง สัมมาสัมพุทธานัง ฯ


  วัฏฏกปริตร
อัตถิ โลเก สีละคุโณ สัจจัง โสเจยยะนุททะยา  
เตนะ สัจเจนะ กาหามิ สัจจะกิริยะมะนุตตะรัง  
อาวัชชิต๎วา ธัมมะพะลัง  สะริต๎วา ปุพพะเก ชิเน  
สัจจะพะละมะวัสสายะ  สัจจะกิริยะมะกาสะหัง  
สันติ ปักขา อะปัตตะนา  สันติ ปาทา อะวัญจะนา
มาตา ปิตา จะ นิกขันตา  ชาตะเวทะ ปะฏิกกะมะ
สะหะ สัจเจ กะเต มัย๎หัง มะหาปัชชะลิโต สิขี
วัชเชสิ โสฬะสะ กะรีสานิ อุทะกัง ปัต๎วา ยะถา สิขี
สัจเจนะ เม สะโม นัตถิ เอสา เม สัจจะปาระมีติ ฯ


  อาฏานาฏิยปริตร
วิปัสสิสสะ นะมัตถุ  จักขุมันตัสสะ สิรีมะโต
สิขิสสะปิ นะมัตถุ สัพพะภูตานุกัมปิโน
เวสสะภุสสะ นะมัตถุ นะหาตะกัสสะ ตะปัสสิโน
นะมัตถุ กะกุสันธัสสะ มาระเสนัปปะมัททิโน
โกนาคะมะนัสสะ นะมัตถุ พ๎ราห๎มะณัสสะ วุสีมะโต
กัสสะปัสสะ นะมัตถุ  วิปปะมุตตัสสะ สัพพะธิ
อังคีระสัสสะ นะมัตถุ  สัก๎ยะปุตตัสสะ สิรีมะโต
โย อิมัง ธัมมะมะเทเสสิ  สัพพะทุกขาปะนูทะนัง
เย จาปิ นิพพุตา โลเก ยะถาภูตัง วิปัสสิสุง
เต ชะนา อะปิสุณา  มะหันตา วีตะสาระทา
หิตัง เทวะมะนุสสานัง ยัง นะมัสสันติ โคตะมัง
วิชชาจะระณะสัมปันนัง  มะหันตัง วีตะสาระทัง ฯ
วิชชาจะระณะสัมปันนัง  พุทธัง วันทามะ โคตะมันติฯ


  โมรปริตร
อุเทตะยัญจักขุมา เอกะราชา
หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส
ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง
ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ ทิวะสัง
เย พ๎ราห๎มะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม
เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ
นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา
นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา
อิมัง โส ปะริตตัง กัต๎วา โมโร จะระติ เอสะนา ฯ

อะเปตะยัญจักขุมา เอกะราชา
หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส
ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง
ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ รัตติง
เย พ๎ราห๎มะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม
เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ
นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา
นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา
อิมัง โส ปะริตตัง กัต๎วา โมโร วาสะมะกัปปะยีติ ฯ


-----------------------
ที่มา .watpitch.com
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 14 มิถุนายน 2562 11:44:18 โดย Maintenence » บันทึกการเข้า

[• สุขใจ บำรุงรักษาระบบ •]
คำค้น:
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  


คุณ ไม่สามารถ ตั้งกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์ได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความได้
BBCode เปิดใช้งาน
Smilies เปิดใช้งาน
[img] เปิดใช้งาน
HTML เปิดใช้งาน

Powered by MySQL Powered by PHP
Bookmark and Share

www.SookJai.com Created By Mckaforce | Sookjai.com Sitemap | CopyRight All Rights Reserved
Mckaforce Group | Sookjai Group
Best viewed with IE 7.0 , Chrome , Opera , Firefox 3.5
Compatible All OS , Resolution 1024 x 768 Or Higher
Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.792 วินาที กับ 31 คำสั่ง

Google visited last this page 19 ตุลาคม 2567 10:07:46