[ สุขใจ ดอท คอม บ้านหลังเล็กอันแสนอบอุ่น ] ธรรมะ พุทธประวัติ ฟังธรรม ดูหนัง ฟังเพลง เกมส์ เบาสมอง ดูดวง สุขภาพ สารพันความรู้
22 ธันวาคม 2567 18:20:13 *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
  หน้าแรก   เวบบอร์ด   ช่วยเหลือ ห้องเกม ปฏิทิน Tags เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก ห้องสนทนา  
บุคคลทั่วไป, คุณถูกห้ามตั้งกระทู้หรือส่งข้อความส่วนตัวในฟอรั่มนี้
Fuck Advertise !!

หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: พระพุทธดำรัส “ทุกข์ - สุข” สุขและทุกข์เป็นของไม่เที่ยง เมื่อเห็นดังนั้นแล้วผู้มีสติย่อมเบ  (อ่าน 3648 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
*

คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
United Kingdom United Kingdom

กระทู้: 7866


• Big Bear •

ระบบปฏิบัติการ:
Windows 7/Server 2008 R2 Windows 7/Server 2008 R2
เวบเบราเซอร์:
Chrome 21.0.1180.79 Chrome 21.0.1180.79


ไม่มี ไม่ใช้ ไม่รู้
ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« เมื่อ: 22 สิงหาคม 2555 23:36:31 »

พระพุทธดำรัส “ทุกข์ – สุข”



กล่าวถึงพระสารีบุตร เมื่อบวชแล้วก็พักอยู่ ณ ถ้ำสุกรขาตา บนเขาคิชฌกูฏกับพระพุทธองค์ ขณะนั้น ทีฆนขะ ซึ่งเป็นหลานชายอยู่ในสกุลพราหมณ์ เที่ยวเดินตามหาพระสารีบุตรผู้เป็นลุง เมื่อมองเห็นพระสารีบุตรถวายการพัดพระศาสดา ก็เกิดความไม่พอใจ ทีฆนขะกล่าวว่า 'ข้าพเจ้าเห็นว่า ไม่มีสิ่งใดทำให้ข้าพเจ้าพอใจ หรือ ชอบใจได้เลย'
พระพุทธองค์จึงตรัสตอบไปว่า 'ทีฆนขะเอ๋ย เจ้าก็ควรไม่พอใจกับความคิดเห็นของเจ้าด้วย'

ในใจของทีฆนขะอยากตอบโต้แต่ก็หาคำพูดใดมากล่าวโต้แย้งได้ พระพุทธองค์จึงเมตตาต่อไปว่า 'ครั้งหนึ่งในอดีต มีพราหมณ์พวกหนึ่งถือตนว่า ไม่มีสิ่งใดเหมาะสมกับเรา ไม่มีสิ่งใดทำให้เราชอบใจได้ ส่วนพราหมณ์อีกพวกหนึ่งก็ถือว่า ทุกสิ่งล้วนเหมาะสมกับเรา เราพอใจไปหมดทุกสิ่ง ทั้งสองฝ่ายความเห็นไม่ตรงกัน จนเกิดทะเลาะกันไม่สิ้นสุด'

'พูดอะไรน่าเบื่อ' ทีฆนขะนึกคิดในใจ

พระพุทธองค์ก็ยังเมตตาต่อไปอีกว่า 'ดูกร ทีฆนขะ มนุษย์เรานี้ เมื่อมีความสุขก็จะลืมความทุกข์ไปเสียสิ้น และเมื่อได้รับความทุกข์ ก็จะมองไม่เห็นความสุข คนส่วนมากเมื่อทุกข์ก็จะคิดว่าตัวต้องทุกข์ไปตลอด หรือเมื่อสุขก็คิดว่า ความสุขนั้นจะเป็นนิรันดร์ หารู้ไม่ว่าทั้งสุขทั้งทุกข์นั้นมิใช่ของจริง เหมือนดั่งเห็นเงาจันทร์ในขันน้ำ เงานั้นมิใช่ดวงจันทร์ที่แท้จริงดอก สุขและทุกข์เป็นของไม่เที่ยง เมื่อเห็นดังนี้แล้ว ผู้ที่มีสติก็ย่อมเบื่อหน่ายทั้งสุขและทุกข์ ย่อมหลุดพ้นจากความยึดมั่นถือมั่น ไม่วิวาททุ่มเถียงกับผู้ใด แม้คำพูดนั้นจะระคายหู ก็ให้มีสติรู้ว่าเป็น แค่คำพูดเท่านั้นเอง'

ทีฆนขะเริ่มชัดแจ้งต่อคำสอนของพระพุทธองค์ 'โอ บุคคลนี้สมเป็นศาสดาอย่างแท้จริง คำของท่านช่างชัดแจ้งดั่งบอกทางให้แก่คนหลงทาง เหมือนหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด ดั่งเทียนส่องสว่างกลางความมืด'

ทีฆนขะได้ดวงตาเห็นธรรม หมดข้อสงสัย ก้มกราบทูลพระพุทธองค์ ขอเป็นอุบาสกในพระพุทธศาสนา ขณะที่พระสารีบุตรนั่งถวายงานพัดอยู่ ได้ฟังพระพุทธดำรัสและพิจารณาไปตามเนื้อความแห่งธรรม จิตก็พ้นจากกิเลสทั้งปวง

Share this topic on AskShare this topic on DiggShare this topic on FacebookShare this topic on GoogleShare this topic on LiveShare this topic on RedditShare this topic on TwitterShare this topic on YahooShare this topic on Google buzz

บันทึกการเข้า

B l a c k B e a r : T h e D i a r y
ฉงน ฉงาย
สุขใจ คนพิเศษ
นักโพสท์ระดับ 9
*

คะแนนความดี: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: หญิง
Thailand Thailand

กระทู้: 453


ระบบปฏิบัติการ:
Windows NT 10.0 Windows NT 10.0
เวบเบราเซอร์:
Chrome 88.0.4324.190 Chrome 88.0.4324.190


ดูรายละเอียด
« ตอบ #1 เมื่อ: 26 กุมภาพันธ์ 2564 12:12:14 »

พระพุทธดำรัส “ทุกข์ – สุข”



กล่าวถึงพระสารีบุตร เมื่อบวชแล้วก็พักอยู่ ณ ถ้ำสุกรขาตา บนเขาคิชฌกูฏกับพระพุทธองค์ ขณะนั้น ทีฆนขะ ซึ่งเป็นหลานชายอยู่ในสกุลพราหมณ์ เที่ยวเดินตามหาพระสารีบุตรผู้เป็นลุง เมื่อมองเห็นพระสารีบุตรถวายการพัดพระศาสดา ก็เกิดความไม่พอใจ ทีฆนขะกล่าวว่า 'ข้าพเจ้าเห็นว่า ไม่มีสิ่งใดทำให้ข้าพเจ้าพอใจ หรือ ชอบใจได้เลย'
พระพุทธองค์จึงตรัสตอบไปว่า 'ทีฆนขะเอ๋ย เจ้าก็ควรไม่พอใจกับความคิดเห็นของเจ้าด้วย'

ในใจของทีฆนขะอยากตอบโต้แต่ก็หาคำพูดใดมากล่าวโต้แย้งได้ พระพุทธองค์จึงเมตตาต่อไปว่า 'ครั้งหนึ่งในอดีต มีพราหมณ์พวกหนึ่งถือตนว่า ไม่มีสิ่งใดเหมาะสมกับเรา ไม่มีสิ่งใดทำให้เราชอบใจได้ ส่วนพราหมณ์อีกพวกหนึ่งก็ถือว่า ทุกสิ่งล้วนเหมาะสมกับเรา เราพอใจไปหมดทุกสิ่ง ทั้งสองฝ่ายความเห็นไม่ตรงกัน จนเกิดทะเลาะกันไม่สิ้นสุด'

'พูดอะไรน่าเบื่อ' ทีฆนขะนึกคิดในใจ

พระพุทธองค์ก็ยังเมตตาต่อไปอีกว่า 'ดูกร ทีฆนขะ มนุษย์เรานี้ เมื่อมีความสุขก็จะลืมความทุกข์ไปเสียสิ้น และเมื่อได้รับความทุกข์ ก็จะมองไม่เห็นความสุข คนส่วนมากเมื่อทุกข์ก็จะคิดว่าตัวต้องทุกข์ไปตลอด หรือเมื่อสุขก็คิดว่า ความสุขนั้นจะเป็นนิรันดร์ หารู้ไม่ว่าทั้งสุขทั้งทุกข์นั้นมิใช่ของจริง เหมือนดั่งเห็นเงาจันทร์ในขันน้ำ เงานั้นมิใช่ดวงจันทร์ที่แท้จริงดอก สุขและทุกข์เป็นของไม่เที่ยง เมื่อเห็นดังนี้แล้ว ผู้ที่มีสติก็ย่อมเบื่อหน่ายทั้งสุขและทุกข์ ย่อมหลุดพ้นจากความยึดมั่นถือมั่น ไม่วิวาททุ่มเถียงกับผู้ใด แม้คำพูดนั้นจะระคายหู ก็ให้มีสติรู้ว่าเป็น แค่คำพูดเท่านั้นเอง'

ทีฆนขะเริ่มชัดแจ้งต่อคำสอนของพระพุทธองค์ 'โอ บุคคลนี้สมเป็นศาสดาอย่างแท้จริง คำของท่านช่างชัดแจ้งดั่งบอกทางให้แก่คนหลงทาง เหมือนหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด ดั่งเทียนส่องสว่างกลางความมืด'

ทีฆนขะได้ดวงตาเห็นธรรม หมดข้อสงสัย ก้มกราบทูลพระพุทธองค์ ขอเป็นอุบาสกในพระพุทธศาสนา ขณะที่พระสารีบุตรนั่งถวายงานพัดอยู่ ได้ฟังพระพุทธดำรัสและพิจารณาไปตามเนื้อความแห่งธรรม จิตก็พ้นจากกิเลสทั้งปวง



แท้จริงแล้วความสุขนั้นไม่มีจริงหรือเปล่าคะ

บันทึกการเข้า

หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
*

คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
United Kingdom United Kingdom

กระทู้: 7866


• Big Bear •

ระบบปฏิบัติการ:
Windows NT 10.0 Windows NT 10.0
เวบเบราเซอร์:
Chrome 88.0.4324.182 Chrome 88.0.4324.182


ไม่มี ไม่ใช้ ไม่รู้
ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #2 เมื่อ: 26 กุมภาพันธ์ 2564 23:51:19 »

พระพุทธดำรัส “ทุกข์ – สุข”



กล่าวถึงพระสารีบุตร เมื่อบวชแล้วก็พักอยู่ ณ ถ้ำสุกรขาตา บนเขาคิชฌกูฏกับพระพุทธองค์ ขณะนั้น ทีฆนขะ ซึ่งเป็นหลานชายอยู่ในสกุลพราหมณ์ เที่ยวเดินตามหาพระสารีบุตรผู้เป็นลุง เมื่อมองเห็นพระสารีบุตรถวายการพัดพระศาสดา ก็เกิดความไม่พอใจ ทีฆนขะกล่าวว่า 'ข้าพเจ้าเห็นว่า ไม่มีสิ่งใดทำให้ข้าพเจ้าพอใจ หรือ ชอบใจได้เลย'
พระพุทธองค์จึงตรัสตอบไปว่า 'ทีฆนขะเอ๋ย เจ้าก็ควรไม่พอใจกับความคิดเห็นของเจ้าด้วย'

ในใจของทีฆนขะอยากตอบโต้แต่ก็หาคำพูดใดมากล่าวโต้แย้งได้ พระพุทธองค์จึงเมตตาต่อไปว่า 'ครั้งหนึ่งในอดีต มีพราหมณ์พวกหนึ่งถือตนว่า ไม่มีสิ่งใดเหมาะสมกับเรา ไม่มีสิ่งใดทำให้เราชอบใจได้ ส่วนพราหมณ์อีกพวกหนึ่งก็ถือว่า ทุกสิ่งล้วนเหมาะสมกับเรา เราพอใจไปหมดทุกสิ่ง ทั้งสองฝ่ายความเห็นไม่ตรงกัน จนเกิดทะเลาะกันไม่สิ้นสุด'

'พูดอะไรน่าเบื่อ' ทีฆนขะนึกคิดในใจ

พระพุทธองค์ก็ยังเมตตาต่อไปอีกว่า 'ดูกร ทีฆนขะ มนุษย์เรานี้ เมื่อมีความสุขก็จะลืมความทุกข์ไปเสียสิ้น และเมื่อได้รับความทุกข์ ก็จะมองไม่เห็นความสุข คนส่วนมากเมื่อทุกข์ก็จะคิดว่าตัวต้องทุกข์ไปตลอด หรือเมื่อสุขก็คิดว่า ความสุขนั้นจะเป็นนิรันดร์ หารู้ไม่ว่าทั้งสุขทั้งทุกข์นั้นมิใช่ของจริง เหมือนดั่งเห็นเงาจันทร์ในขันน้ำ เงานั้นมิใช่ดวงจันทร์ที่แท้จริงดอก สุขและทุกข์เป็นของไม่เที่ยง เมื่อเห็นดังนี้แล้ว ผู้ที่มีสติก็ย่อมเบื่อหน่ายทั้งสุขและทุกข์ ย่อมหลุดพ้นจากความยึดมั่นถือมั่น ไม่วิวาททุ่มเถียงกับผู้ใด แม้คำพูดนั้นจะระคายหู ก็ให้มีสติรู้ว่าเป็น แค่คำพูดเท่านั้นเอง'

ทีฆนขะเริ่มชัดแจ้งต่อคำสอนของพระพุทธองค์ 'โอ บุคคลนี้สมเป็นศาสดาอย่างแท้จริง คำของท่านช่างชัดแจ้งดั่งบอกทางให้แก่คนหลงทาง เหมือนหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด ดั่งเทียนส่องสว่างกลางความมืด'

ทีฆนขะได้ดวงตาเห็นธรรม หมดข้อสงสัย ก้มกราบทูลพระพุทธองค์ ขอเป็นอุบาสกในพระพุทธศาสนา ขณะที่พระสารีบุตรนั่งถวายงานพัดอยู่ ได้ฟังพระพุทธดำรัสและพิจารณาไปตามเนื้อความแห่งธรรม จิตก็พ้นจากกิเลสทั้งปวง



แท้จริงแล้วความสุขนั้นไม่มีจริงหรือเปล่าคะ





ความสุขนั้นมีอยู่จริง ดังคำ "นิพพานัง ปรมัง สุขัง ที่แปลได้ว่า นิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง"
หากจะถามต่อว่าแล้วทำไมนิพพานถึงเป็นความสุขเล่า
เพราะนิพพานคือการดับซึ่งอาสวะกิเลสทั้งหลายทั้งปวง เมื่อปราศจากซึ่งความอยากได้ อยากมี อยากเป็น
ความทุกข์ก็จะไม่สามารถบังเกิดขึ้นได้

เปรียบเหมือนเราชอบกินส้มตำมากที่สุดในบรรดาของกินทั้งหลาย
เราเอร็ดอร่อยกับรสชาติ มีความสุขทุกครั้งที่ได้กิน
แต่ถ้าเรากินส้มตำแบบเดิมทุกวัน วันละสามมื้อ ติดต่อกันสักครึ่งปี
เราคงเบือนหน้าหนีเมื่อรู้ว่ามื้อที่กำลังจะมาถึงเราต้องกินส้มตำอีกแล้ว
แม้เป็นของที่ชอบ เราก็เบื่อหน่าย แม้เป็นของที่ชอบ พอเราได้รับมากเข้าเราก็ทุกข์

แม้แต่ทรัพย์สินเงินทอง เราเคยดีใจที่มีเงินล้าน แล้วยังไงต่อหละ ถ้าเสียเงินล้านนี้ไปเราก็ทุกข์
ถ้าเงินล้านมันไม่งอกเงยเราก็ทุกข์ แม้เงินล้านมันงอกเงยให้ผลกำไร เราก็อยากได้ให้มากขึ้นไปอีก
สุดท้ายมันก็ทุกข์

ทุกสิ่งอย่างล้วนดำเนินไปตามกฏไตรลักษณ์ คือ อนิจจตา ทุกขตา และ อนัตตตา ที่เราเรียกกันติดปากว่า
อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา นั่นแหละ
ทุกสิ่งล้วนไม่เที่ยง แม้ความสุขเองก็ไม่เที่ยง
ทุกสิ่งล้วนเป็นทุกข์ แม้ความสุขเองก็เป็นทุกข์
ทุกสิ่งล้วนไม่มีตัวตน แม้ความสุขเองก็ไม่มีตัวตน

สรุปคือความสุขนั้นมีในเรื่องของความรู้สึก จับต้องไม่ได้ ชั่ง ตวง วัด ไม่ได้ ไม่มีตัว ไม่มีตน ไม่มีความมั่นคง
มีเพียงการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป เหตุเพราะสุขที่แท้จริงนั้นมีเพียงนิพพาน ซึ่งถือเป็นสุขอันเป็นที่สุด



บันทึกการเข้า

B l a c k B e a r : T h e D i a r y
คำค้น: พระพุทธเจ้า พุทธดำรัส ทุกข์ สุข ไม่เที่ยง 
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  


คุณ ไม่สามารถ ตั้งกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์ได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความได้
BBCode เปิดใช้งาน
Smilies เปิดใช้งาน
[img] เปิดใช้งาน
HTML เปิดใช้งาน

Powered by MySQL Powered by PHP
Bookmark and Share

www.SookJai.com Created By Mckaforce | Sookjai.com Sitemap | CopyRight All Rights Reserved
Mckaforce Group | Sookjai Group
Best viewed with IE 7.0 , Chrome , Opera , Firefox 3.5
Compatible All OS , Resolution 1024 x 768 Or Higher
Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.35 วินาที กับ 30 คำสั่ง

Google visited last this page 16 พฤศจิกายน 2567 09:54:31