[ สุขใจ ดอท คอม บ้านหลังเล็กอันแสนอบอุ่น ] ธรรมะ พุทธประวัติ ฟังธรรม ดูหนัง ฟังเพลง เกมส์ เบาสมอง ดูดวง สุขภาพ สารพันความรู้
22 ธันวาคม 2567 15:07:26 *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
  หน้าแรก   เวบบอร์ด   ช่วยเหลือ ห้องเกม ปฏิทิน Tags เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก ห้องสนทนา  
บุคคลทั่วไป, คุณถูกห้ามตั้งกระทู้หรือส่งข้อความส่วนตัวในฟอรั่มนี้
Fuck Advertise !!

หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: อิกโนเบล คู่แข่งรางวัล โนเบล สุดยอดการค้นพบเพี้ยน ๆ  (อ่าน 8187 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 2 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
*

คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
United Kingdom United Kingdom

กระทู้: 7866


• Big Bear •

ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 5.0.375.99 Chrome 5.0.375.99


ไม่มี ไม่ใช้ ไม่รู้
ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« เมื่อ: 25 กรกฎาคม 2553 15:03:44 »





รูปรางวัลอิกโนเบล ซึ่งมีหน้าตาไม่ซ้ำกันในแต่ละปี




แม้อิกโนเบลจะเป็นการมอบรางวัลงานวิจัยเพี้ยนๆ ฮาๆ แต่ก็ได้รับเกียรติจากผู้ได้รับรางวัลโนเบลตัวจริงมาร่วมด้วยทุกปี
อย่างปี 2006 ที่ผ่านมานี้ริช โรเบิร์ตส์ (Rich Roberts) โนเบลแพทย์ปี 1993 สวมหมวกสหรัฐฯ ขึ้นดีเบตบนเวทีร่วมกับรอย เกลาเบอร์ (Roy Glauber)
โนเบลฟิสิกส์ปีที่แล้ว คราวนี้เกลาเบอร์สวมชุดขาวถือไม้กวาดมาทำความสะอาดเวทีอิกนิวไซแอนติส/เอเจนซี/อิกโนเบล


Share this topic on AskShare this topic on DiggShare this topic on FacebookShare this topic on GoogleShare this topic on LiveShare this topic on RedditShare this topic on TwitterShare this topic on YahooShare this topic on Google buzz

บันทึกการเข้า

B l a c k B e a r : T h e D i a r y
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
*

คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
United Kingdom United Kingdom

กระทู้: 7866


• Big Bear •

ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 5.0.375.99 Chrome 5.0.375.99


ไม่มี ไม่ใช้ ไม่รู้
ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #1 เมื่อ: 25 กรกฎาคม 2553 15:05:09 »

อิก โนเบล (Ig Nobel) ย่อมาจาก ignoble Nobel เป็นรางวัลที่มอบให้แก่ผลงานทางวิทยาศาสตร์
หรืองานวิจัยที่ไม่น่าจะเป็นไปได้ เช่น ระหว่างน้ำเชื่อมกับน้ำธรรมดามนุษย์จะว่ายในน้ำไหนได้ไวกว่ากัน ก่อตั้งโดย
มาร์ก อับราฮัมส์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1991 มีการมอบรางวัลทุกปีโดยมอบปีละ 10 รางวัลในแต่ละสาขาที่ต่างกันไป
อับราฮัมส์ตั้งรางวัลนี้ขึ้นมาเพื่อฉายแสงให้กับโครงการวิทยาศาสตร์แปลกๆ ที่ไม่ได้รับความสนใจจากกองบรรณาธิการ
นิตยสารวิทยาศาสตร์ ซึ่งงานวิจัยแปลกๆ เหล่านี้อาจสูญหายไปในอนาคต


ข้อมูลจาก วิคิพีเดีย
บันทึกการเข้า

B l a c k B e a r : T h e D i a r y
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
*

คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
United Kingdom United Kingdom

กระทู้: 7866


• Big Bear •

ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 5.0.375.99 Chrome 5.0.375.99


ไม่มี ไม่ใช้ ไม่รู้
ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #2 เมื่อ: 25 กรกฎาคม 2553 15:05:40 »

เรามาดูตัวอย่างผลงานกัน

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น
บันทึกการเข้า

B l a c k B e a r : T h e D i a r y
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
*

คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
United Kingdom United Kingdom

กระทู้: 7866


• Big Bear •

ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 5.0.375.99 Chrome 5.0.375.99


ไม่มี ไม่ใช้ ไม่รู้
ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #3 เมื่อ: 25 กรกฎาคม 2553 15:09:43 »

รางวัลอิกโนเบล สาขาวิหควิทยา ปี 2006





       อีวาน ชวาบ (Ivan Schwab) มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียในเดวิส (University of California Davis) และฟิลิป เมย์ (Philip May) จากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียในลอสแองเจลลิส (University of California Los Angeles) ขึ้นมารับรางวัลเป็นรายแรกในสาขาวิหควิทยา (ornithology prize) จากผลงานการศึกษาว่าวิธีการหลีกเลี่ยงอาการเจ็บหัวของนกหัวขวาน
       
       แรกเริ่มเลยเมย์ประหลาดใจว่าทำไมเจ้านกหัวขวานที่ใช้จงอยหัวอันหนาเจาะเข้ากับต้นไม้วันละมากกว่า 12,000 ครั้ง ทำไมมันถึงไม่บ่นปวดหัวหรือสสมองสั่นสะเทือนเลย จากนั้นเขาก็พบว่าสมองของนกหัวขวานนั้นได้พัฒนาให้มีกะโหลกอย่างหนา พร้อมทั้งกระดูกที่เหมือนโฟมกันกระแทกคอยรับแรงสั่นสะเทือนภายในสมอง
       
       ทั้งนี้ นกหัวขวานได้พัฒนาเข็มขัดนิรภัยส่วนตัวขึ้น โดยช่วงเวลาเสี้ยววินาทีก่อนที่นกพันธุ์นี้จะกระแทกหัวเข้ากับต้นไม้ หนังตาชั้นที่สาม (nictitating membrane) ของมันก็จะปิดปกคลุมตาเพื่อป้องกันไม่ให้แรงจากการเจาะต้นไม้ทำให้พวกนกเหล่านี้เวียนหัว
       
       ส่วนชวาบมีข้อเสนอว่า นกหัวขวานอาจจะพัฒนาสมองขนาดเล็กๆ ขึ้นมา เพื่อให้เกิดความต้านทานกับแรงกระแทก แต่ก็ยอมรับว่าพลังสมองน้อยๆ ของนกหัวขวานสามารถชนต้นไม้จนเป็นรูได้
       


บันทึกการเข้า

B l a c k B e a r : T h e D i a r y
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
*

คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
United Kingdom United Kingdom

กระทู้: 7866


• Big Bear •

ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 5.0.375.99 Chrome 5.0.375.99


ไม่มี ไม่ใช้ ไม่รู้
ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #4 เมื่อ: 25 กรกฎาคม 2553 15:11:04 »

ปี 2006


       ผลงานที่ไม่ควรมองข้ามไปอย่างยิ่ง คือผลงานของฟรานซิส เฟสเมียร์ (Francis Fesmire) จากมหาวิทยาลัยเทนเนสซี (University of Tennessee) ได้รับอิกโนเบลในสาขาแพทย์จากรายงานการหยุดสะอึกด้วยการนวดทวารหนัก "Termination of Intractable Hiccups with Digital Rectal Massage"
      
       “ผมหวังอยู่เสมอว่าจะได้รับรางวัลโนเบลสาขาการแพทย์จริงๆ” เฟสเมียร์กล่าวหลังจากขึ้นไปรับรางวัลอิกโนเบลสาขาการแพทย์ไปก่อน (โดยไม่รู้ว่าจะได้โนเบลจริงๆ เมื่อใด) ทว่าผลงานชิ้นที่กรรมการตัดสินรางวัลอิกโนเบลเห็นเข้าตานั้นก็ลงตีพิมพ์ในวารสารการแพทย์ฉุกเฉิน โดยเป็นความพยายามของเฟสเมียร์ที่ช่วยชายคนหนึ่งที่ถูกส่งมาถึงห้องฉุกเฉิน เพราะสะอึกมากว่า 72 ชั่วโมงด้วยอัตราที่มากกว่า 30 ครั้งต่อนาที

       เฟสเมียร์เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการแพทย์ฉุกเฉิกและหัวใจ ในขั้นแรกเขาใช้ไฟฟ้ากระตุ้นประสาทที่เกี่ยวกับกะโหลกของคนไข้ เพราะเป็นส่วนที่ทำให้เกิดการสะอึก จากนั้นทั้งปิดปาก ดึงลิ้น และนวดบริเวณโพรงกะโหลก รวมถึงกดลูกตาเพื่อกระตุ้นประสาทดังกล่าว แต่ก็ไม่เป็นผล
       
       ระหว่างนั้นเขาเกิดนึกถึงเคสการนวดทวารหนักที่เคยอ่านไว้ จึงลองสอดนิ้วเข้าไปในทวารของคนไข้ และนวดตามจังหวะหัวใจ จากนั้นอาการสะอึกก็ค่อยๆ หายไป แม้จะประสบผลสำเร็จแต่เฟสเมียร์ก็ไม่เคยนำวิธีนี้ไปรักษากับคนไข้รายอื่นๆ แต่มาเจด โอเดะห์ (Majed Odeh) จากศูนย์การแพทย์บไน ไซออน ในไฮฟา (Bnai Zion Medical Center in Haifa) อิสราเอลก็ใช้วิธีการเดียวกันนี้และเขียนรายงานลงวารสารในหัวข้อเดียวกัน ทำให้ทั้งคู่แบ่งรางวัลกันไปคนละครึ่ง
       
       อย่างไรก็ดี เฟสเมียร์ให้สัมภาษณ์ว่า เขาจะไม่ใช้วิธีนี้รักษาคนสะอึกอีกแน่ เพราะเขาค้นพบวิธีการใหม่ที่เชื่อแน่ว่า ผู้ป่วยสะอึกอยากจะนำไปใช้รักษากันอย่างแพร่หลายแน่นอน นั่นคือการสำเร็จความใคร่ นับเป็นการกระตุ้นประสาทกะโหลกได้อย่างไม่น่าเชื่อ เฟสเมียร์ย้ำว่า “เซ็กซ์” และต้องสำเร็จถึงจุดสุดยอดนั่นแหละ แก้อาการสะอึกที่แก้เท่าไรก็ไม่หายได้อย่างชะงัก


 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น


« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 25 กรกฎาคม 2553 15:13:58 โดย Mckaforce » บันทึกการเข้า

B l a c k B e a r : T h e D i a r y
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
*

คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
United Kingdom United Kingdom

กระทู้: 7866


• Big Bear •

ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 5.0.375.99 Chrome 5.0.375.99


ไม่มี ไม่ใช้ ไม่รู้
ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #5 เมื่อ: 25 กรกฎาคม 2553 15:12:28 »

ผู้ได้รางวัลโนเบล มอบรางวัลอิกโนเบลให้ผู้ศึกษาเส้นสปาเกตตี้ ???

วิลเลียม ลิสคอมบ์ (William Liscomb) โนเบลเคมีปี 1976 กำลังสาธิตการหักเส้นสปาเก็ตตี้ก่อนที่จะไปประกาศมอบอิกโนเบลให้แก่ผู้ที่ศึกษาเส้นสปาเก็ตตี้จนพบว่า เส้นแห้งเหล่านี้มีแนวโน้มหักมากกว่า 2 ท่อน


 ขี้มูกไหล ขี้มูกไหล ขี้มูกไหล ขี้มูกไหล

บันทึกการเข้า

B l a c k B e a r : T h e D i a r y
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
*

คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
United Kingdom United Kingdom

กระทู้: 7866


• Big Bear •

ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 5.0.375.99 Chrome 5.0.375.99


ไม่มี ไม่ใช้ ไม่รู้
ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #6 เมื่อ: 25 กรกฎาคม 2553 15:16:04 »

ในปี 2006 อีกรางวัลที่มองข้ามไม่ได้คือ

เอาเล็บขูดกระดานทำไมสะเทือนถึงกระดูก...นัก !!

 
       
       สาขาสวนศาสตร์ (acoustics prize) หรือเกี่ยวกับเสียงนั่นเอง มอบให้นักวิทยาศาสตร์สหรัฐฯ อีก 3 รายจากมหาวิทยาลัยฟานเดอร์บิลด์ (Vanderbilt University) ในเทนเนสซี คือลินน์ ฮาลเพิร์น (Lynn Halpern), รานดอลฟ เบลก (Randolph Blake) และเจมส์ ฮิลเลนบรานด์ (James Hillenbrand) พวกเขาพยายามหาคำตอบในเรื่องที่ไม่เคยมีใครคิดจะหามันมาก่อน โดยทดลองหาเหตุผลว่าทำไมผู้คนถึงไม่ชอบเสียงเล็บมือขูดกระดานดำ...มันสั่นไปถึงกระดูกสันหลังเลยทีเดียว
       
       พวกเขาหาอาสาสมัครทดลองให้ใช้ส้อมพรวนดินขูดบนกระดานฉนวนในระดับที่ทนไม่ไหว จากนั้นก็ลองใช้เหล็กกับเหล็กขูดกัน และใช้แผ่นโฟมถูกกันเอง ซึ่งการทดลองของเขาแสดงให้เห็นว่าคลื่นความถี่เสียงระดับกลางผลักผู้คนให้แทบอยากจะตะกายกำแพง
       
       ขณะเดียวกันเสียงร้องเตือนของชิมแปนซีก็มีความคล้ายคลึงกับเสียงเล็บขูดกระดานดำเช่นกัน จึงเป็นไปได้ว่าการตอบสนองมาจากสัญชาตญาณ นั่นหมายความว่าเสียงประเภทที่ทำให้เราสั่นไปถึงกระดูกดำเหล่านี้ คือสัญญาณบางอย่าง ดังนั้นจึงควรฟังเสียงกรีดร้องจากสัตว์ที่เคยเป็นบรรพบุรุษของพวกเรา (อย่างชิมป์) เมื่อพวกเขาส่งสัญญาณหรือแยกเขี้ยวเดินไปมา...แปลว่าน่าจะมีอะไรที่อยากจะบอกเราเป็นแน่ !!


 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น
บันทึกการเข้า

B l a c k B e a r : T h e D i a r y
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
*

คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
United Kingdom United Kingdom

กระทู้: 7866


• Big Bear •

ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 5.0.375.99 Chrome 5.0.375.99


ไม่มี ไม่ใช้ ไม่รู้
ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #7 เมื่อ: 25 กรกฎาคม 2553 15:18:33 »

รางวัลอื่น ๆ ในปี 2006


       - สาขาโภชนศาสตร์เป็นของวาสเมีย อัล ฮูลตี (Wasmia Al-Houty) จากมหาวิทยาลัยคูเวต (Kuwait University) พร้อมก้บฟาเต็ม อัล มุสซาลาม (Faten Al-Mussalam) จากองค์การสาธารณะด้านสิ่งแวดล้อมของคูเวต (Kuwait Environment Public Authority) ได้รับรางวัลจากการศึกษามูลของแมลงปีกแข็งโดยชี้ให้เห็นว่าแมลงเหล่านี้ช่างเรื่องมากในการกินเสียเหลือเกิน

       - สาขาสันติภาพเป็นของ “โฮวาร์ด สตาเพลตัน” (Howard Stapleton) จากเวลส์ เนื่องจากประดิษฐ์เครื่องกลไฟฟ้า จนสร้างเป็นเสียงโทรศัพท์ที่ได้ยินเฉพาะเด็กๆ เมื่อใครโทรมาเด็กๆ จะได้ยิน แต่ครูไม่ได้ยิน แต่น่าเสียดายที่เขาไม่สามารถมาร่วมงานได้ด้วยเหตุผลทางครอบครัว (อ่านข่าว : เด็กๆ ถูกใจ “ริงโทน” แบบใหม่ ผู้ใหญ่ไม่ได้ยิน !!)
       
       - สาขาคณิตศาสตร์เป็นของ 2 นักวิจัยจากองค์กรวิจัยและวิทยาศาสตร์ของออสเตรเลีย ทั้งคู่หาคำตอบว่าเวลาถ่ายภาพหมู่ต้องกดชัตเตอร์กันกี่รูป ถึงจะแน่ใจได้ว่าจะไม่มีใครในภาพหลับตา
       
       - สาขาฟิสิกส์ตกเป็นของบาไซล์ ออโดลี (Basile Audoly) และเซบาสเตียน นอยคริช (Sebastien Neukirch) จากมหาวิทยาลัยปารีส (Paris University) เนื่องจากพวกเขาเข้าใจลึกซึ้งถึงเหตุผลที่ว่าทำไมเส้นสปาเก็ตตี้เมื่อแห้งแล้วถึงมีแนวโน้มแตกออกมากกว่า 2 ชิ้น
       
       - สาขาเคมี แม้ว่ากลุ่มนักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยวาเลนเซีย (Valencia University) และมหาวิทยาลัยอิลเลส บาเลอร์ส (University of Illes Balears) จะยังไม่สามารถสรุปผลการทดลองของพวกเขาได้อย่างชัดเจน แต่คณะกรรมการก็ตัดสินใจให้ผลงานของพวกเขาที่ศึกษาเรื่องอัตราความเร็วคลื่นความถี่เหนือเสียงของชีสเชดดาร์ที่มีผลมาจากอุณหภูมิ (Ultrasonic Velocity in Cheddar Cheese as Affected by Temperature) ได้รับรางวัลในสาขาเคมี
       
       - เรื่องของชีสก็ยังคงได้รับความสนใจต่อเนื่อง โดยในสาขาชีววิทยาคือบาร์ต คนอลส์ (Bart Knols) จากมหาวิทยาลัยเกษตรวาเกนนิเกน (Wageningen Agricultural University) ในเนเธอร์แลนด์ เพราะเขาวิจัยพบว่ายุงก้นปล่องตัวเมียสนใจตอมชีสลิมเบอร์เกอร์มากพอๆ กับเท้าคน
       


 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น
บันทึกการเข้า

B l a c k B e a r : T h e D i a r y
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
*

คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
United Kingdom United Kingdom

กระทู้: 7866


• Big Bear •

ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 5.0.375.99 Chrome 5.0.375.99


ไม่มี ไม่ใช้ ไม่รู้
ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #8 เมื่อ: 25 กรกฎาคม 2553 15:19:22 »

ปี 2547 รางวัล อิก โนเบล สาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตกเป็นของคู่พ่อลูก แฟรงค์ และโดนัลด์ สมิธ ที่คิดค้นวิธีหวีผมปกปิดหัวล้าน โดยทั้งคู่เผยถึงเทคนิคเฉพาะตัวว่า การหวีผมปิดหัวล้านให้แนบเนียนนั้น ต้องแบ่งผมที่มีอยู่น้อยแสนน้อย ว่าให้ค่อยๆ หวีจากด้านที่มีผมยาวมาทับด้านที่มีผมน้อยที่สุด
บันทึกการเข้า

B l a c k B e a r : T h e D i a r y
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
*

คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
United Kingdom United Kingdom

กระทู้: 7866


• Big Bear •

ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 5.0.375.99 Chrome 5.0.375.99


ไม่มี ไม่ใช้ ไม่รู้
ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #9 เมื่อ: 25 กรกฎาคม 2553 15:21:09 »

ในปีเดียวกัน ‘กฎ 5 วินาที' ของ จูเลียน คลาร์ก ในวัย 17 ปี (ณ ปีนั้น) ที่ได้รับอิก โนเบล สาขาสาธารณสุขไปครอง จากผลงานวิจัยของเธอที่ว่า ถ้าอาหารตกพื้นไม่ถึง 5 วินาที แล้วหยิบมากิน อาหารนั้นยังคงสะอาด ไม่มีเชื้อโรค

ส่วนรางวัลอิก โนเบล สาขาสันติภาพ ตกเป็นของ ไดสุเกะ อิโนะอุเอะ ผู้คิดค้นคาราโอเกะ โดยเหตุผลที่คณะกรรมการให้ไว้ ว่า มันสอนคนเรารู้จักมีน้ำอดน้ำทนกับคนอื่นได้มากขึ้น
บันทึกการเข้า

B l a c k B e a r : T h e D i a r y
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
*

คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
United Kingdom United Kingdom

กระทู้: 7866


• Big Bear •

ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 5.0.375.99 Chrome 5.0.375.99


ไม่มี ไม่ใช้ ไม่รู้
ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #10 เมื่อ: 25 กรกฎาคม 2553 15:22:26 »

อิก โนเบล 2009

ในปีนี้ เจ้าของโนเบลสาขาสันติภาพ คือนาย บารัก โอบามา บุรุษที่กำลังถูกจับตามองมากที่สุดคนหนึ่งในโลก แต่สำหรับผู้ที่ได้รับรางวัล อิก โนเบล สาขาสันติภาพ ในปีนี้กลับเป็น สเตฟาน โบลลิเกอร์, สเตฟเฟน รอสส, ลาร์ส ออสเตอร์ฮาลเวก, มิชาเอล ทาลี และ บีท คนิวบูห์ล จาก มหาวิทยาลัยเบิร์น ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ผู้ซึ่งไม่มีใครรู้จักชื่อเสียงเรียงนามของเขามาก่อน

โดยงานวิจัยที่ทำให้พวกเขาทั้ง 5 ได้รับรางวัล อิก โนเบิล ในครั้งนี้ก็คือ ‘การถูกตีหัวด้วยขวดเบียร์เปล่า กับขวดที่มีเบียร์อยู่เต็ม อย่างไหนจะดีกว่ากัน' (ซึ่งเป็นที่น่าสงสัยมากว่าเกี่ยวข้องกับสันติภาพอย่างไร)

ส่วนผลงาน อิก โนเบล ที่ได้ใจผู้ชม และสร้างความรู้สึกน่าทึ่ง ปนสนุกสนาน ได้มากที่สุดในปีนี้ เป็นผลงานของ เอลีนา บอดนาร์ จากวิทยาลัยการแพทย์ มหาวิทยาลัยชิคาโก ประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ออกแบบเสื้อยกทรง ที่สามารถดัดแปลงเป็นหน้ากากกันแก๊สพิษ!!!

บอดนาร์ นั้น เคยอาศัยอยู่ที่ยูเครน ในช่วงที่มีเหตุการณ์เตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ระเบิดที่เชอร์โนบิล ทำให้เธอเห็นความสำคัญในการเตรียมตัวพร้อมด้านสาธารณสุขอยู่เสมอ และผลงานของเธอนั้น ก็เป็นผลงานที่คำนึงถึงมนุษยชาติคนอื่นๆ ด้วย เพราะยกทรง 1 ตัว ของเธอ สามารถทำเป็นหน้ากากกันแก๊สพิษได้ถึง 2 ชิ้น นับว่า บอดนาร์ มีจิตสำนึกที่คิดถึงส่วนรวมอยู่ไม่น้อย

ส่วนรางวัลอื่นๆ ที่น่าสนใจในปีนี้ได้แก่ ‘วัวที่มีชื่อ ให้นมได้มากกว่าวัวที่ไม่ได้รับการตั้งชื่อ' ของแคเทอรีน ดักลาส และ ปีเตอร์ โรวลินสัน ในสาขาสัตวแพทย์

สาขาการแพทย์ได้แก่ผลงานเรื่อง ‘การสืบเสาะหาต้นเหตุโรคปวดข้อนิ้ว โดยอุตสาหะหักข้อนิ้วมือซ้ายทุกๆ วัน โดยไม่ทำกับมือขวาเลย เป็นเวลากว่า 60 ปี' โดยลุง โดนัลด์ อุงเกอร์ ฯลฯ (สนใจผลของรางวัลทั้งหมด สามารถติดตามต่อได้ที่ http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9520000116239)
บันทึกการเข้า

B l a c k B e a r : T h e D i a r y
wondermay
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #11 เมื่อ: 01 สิงหาคม 2553 00:46:11 »

อันนี้น่ายกย่องจิงๆ รางวัลลแบบนี้  ยิ้ม

ทำเป็นเล่นไปนะคุนนนนนน
บันทึกการเข้า
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
*

คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
United Kingdom United Kingdom

กระทู้: 7866


• Big Bear •

ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ไม่มี ไม่ใช้ ไม่รู้
ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #12 เมื่อ: 01 สิงหาคม 2553 22:45:34 »

บางอย่างมันได้ประโยชน์จริงนะ

บางอันนี่ทำเป็นเรื่องเป็นราว

ปีไหนไม่รู้จำไม่ได้ มีลุงคนนึงได้สาขากลศาสตร์รึไรนี่แหละ

จากการพิสูจน์ว่าน้ำมันดินเป็นของเหลว โดยเอาน้ำมันดินใส่ภาชนะเจาะรู

น้ำมันดินก็ค่อย ๆ หยดลงมา ซึ่งค่อย ๆ จริง ๆ

เพราะใช้เวลาหยด หยดละ 8 ปี !!!

อ่านเจอรางวัลนี้ครั้งแรกรู้สึกจะในนิตยสาร MAXIM นะ



บันทึกการเข้า

B l a c k B e a r : T h e D i a r y
คำค้น: อิกโนเบล คู่แข่ง โนเบล รางวัล โล่ รางวัลโนเบล ignobel 
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  


คุณ ไม่สามารถ ตั้งกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์ได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความได้
BBCode เปิดใช้งาน
Smilies เปิดใช้งาน
[img] เปิดใช้งาน
HTML เปิดใช้งาน

Powered by MySQL Powered by PHP
Bookmark and Share

www.SookJai.com Created By Mckaforce | Sookjai.com Sitemap | CopyRight All Rights Reserved
Mckaforce Group | Sookjai Group
Best viewed with IE 7.0 , Chrome , Opera , Firefox 3.5
Compatible All OS , Resolution 1024 x 768 Or Higher
Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.219 วินาที กับ 30 คำสั่ง

Google visited last this page 06 กันยายน 2567 12:42:45